Page 57 - GL004
P. 57

อุปสรรคและความสําเร็จของสิ่งแวดลอมศึกษาฯ ในสื่อมวลชน
                     สื่อมวลชนกับสิ่งแวดลอมศึกษาฯ มีกิจกรรมความเคลื่อนไหวที่ไมแนนอน ขึ้นอยูกับกระแส
              สังคมและสภาวะเศรษฐกิจของประเทศในแตละชวงเปนอยางมาก
                     ชวงทศวรรษที่ 2530 มีการตื่นตัวเรื่องปญหาสิ่งแวดลอมทั่วโลก สื่อมวลชนจึงใหความสนใจ

              นําเสนอเนื้อหาดานสิ่งแวดลอม โดยในชวงเวลาดังกลาวมีการไหลบาของขาวสารจากซีกโลกตะวันตก
              เกี่ยวกับสถานการณสิ่งแวดลอมที่กําลังตกอยูในสภาวะวิกฤต จนกระทั่งตนป พ.ศ. 2532 นิตยสาร
              Time ประกาศใหโลกเปนดาวเคราะหแหงปที่อาจสูญพันธุได (Planet of the Year: Endangered
              Earth) ภายในประเทศก็มีเหตุการณสําคัญเกิดขึ้น เชน การอนุมัติสรางเขื่อนปากมูลและการคัดคาน
              จากชุมชนและกลุมอนุรักษอยางเขมขน การที่คณะรัฐมนตรีเห็นชอบใหประกาศแหลงธรรมชาติอันควร
              อนุรักษ 263 แหงเนื่องในปการพิทักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และรองขอใหสื่อโทรทัศน
              นําเสนอสารคดีสิ่งแวดลอม รวมถึงการเสียชีวิตของคุณสืบ นาคะเสถียร ซึ่งสรางพลังการตื่นตัวใหแก

              ทั้งภาครัฐและเอกชนอยางมาก ทําใหมีการสนับสนุนเงินทุนในการผลิตรายการสิ่งแวดลอม และ
              สื่อมวลชนใหความสนใจนําเสนอเนื้อหาสิ่งแวดลอมเพิ่มขึ้นอยางเห็นไดชัด ไดแก สื่อโทรทัศน เชน
              ทุงแสงตะวัน เผชิญหนาสภาวะแวดลอม สื่อวิทยุ เชน กรีนเวฟ หนังสือพิมพหลายฉบับเปดหนาขาว
              สิ่งแวดลอมและมีการจัดสรรตําแหนงนักขาวสายสิ่งแวดลอมไวอยางชัดเจน ตลอดจนมีนิตยสาร
              ดานสิ่งแวดลอมโดยเฉพาะเกิดขึ้นหลายฉบับ เชน นิตยสารโลกสีเขียว วารสารผลิใบ และนิตยสาร
              โลกใบใหม เปนตน
                     ชวงทศวรรษที่ 2540 การเกิดวิกฤตเศรษฐกิจในป พ.ศ. 2540 สงผลใหงบประมาณสนับสนุน
              ทั้งจากภาครัฐและเอกชนลดนอยลง ทําใหปริมาณและคุณภาพของสื่อมวลชนกระแสหลักในการ
              นําเสนอขาวสิ่งแวดลอมโดยภาพรวมมีแนวโนมลดลงอยางเห็นไดชัด เชน หนังสือพิมพหลายฉบับ

              ยุบโตะขาวและเลิกจางนักขาวสิ่งแวดลอมจํานวนมาก อยางไรก็ตาม หลังจากที่มีการประกาศใช
              รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 (ที่มักเรียกวา “ฉบับประชาชน”) ทําใหเกิดกระแส
              ตื่นตัวทางการเมือง มีผลใหสื่อกระแสรองมีบทบาทเพิ่มมากขึ้น เชน วิทยุชุมชน และอิทธิพลของการ
              เกิดสื่อประเภทเว็บไซตขาวทางอินเทอรเน็ต ไดใหความสําคัญกับเนื้อหาดานสิ่งแวดลอมคอนขางมาก
              สาเหตุอาจเปนเพราะเรื่องสิ่งแวดลอมเปนเรื่องในวิถีชีวิต
                     ชวงปลายทศวรรษที่ 2540 ถึงปจจุบัน ปญหาภาวะโลกรอนกลายเปนตนเหตุสําคัญที่ทําให
              สื่อมวลชนไดพากันสนใจนําเสนอเนื้อหาสิ่งแวดลอมมากขึ้น อยางไรก็ตาม ปรากฏการณดังกลาวเปน

              เพียงกระแส และโดยสวนใหญไมไดชวยกอใหเกิดความรูความเขาใจปญหาอยางแทจริง ขณะที่
              สื่อมวลชนซึ่งนําเสนอเนื้อหาสิ่งแวดลอมอยางจริงจังและตอเนื่องยังมีปริมาณที่นอยมาก โดยเฉพาะ
              เมื่อเปรียบเทียบกับวิกฤตการณของปญหาที่เกิดขึ้น







              56 ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ÊÙ‹ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁÈÖ¡ÉÒà¾×èÍ¡ÒþѲ¹Ò·ÕèÂÑè§Â×¹
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62