Page 51 - GL004
P. 51

สรุปสภาวะการดําเนินงานสิ่งแวดลอมศึกษาฯ ในภาคธุรกิจ
                     กิจกรรมโดยสวนใหญเปนเรื่องการจัดการสิ่งแวดลอม มากกวาสิ่งแวดลอมศึกษาฯ
                     บริษัทธุรกิจที่เคลื่อนไหวดานสิ่งแวดลอมมากที่สุด ไดแก องคกรขนาดใหญที่เปนสมาชิก
              คณะกรรมการธุรกิจเพื่อสิ่งแวดลอมไทย

                     กลุมธุรกิจพลังงานและสาธารณูปโภค มีองคกรที่เคลื่อนไหวดานกิจกรรมสิ่งแวดลอม
              เปนจํานวนมากและคอนขางตอเนื่องที่สุด เชน บริษัทบางจาก กลุมบริษัท ปตท. บริษัทเชฟรอนประเทศ
              ไทย บริษัทผลิตไฟฟา บริษัทปูนซิเมนตไทย เปนตน ทั้งนี้เพราะการดําเนินงานของธุรกิจเกี่ยวของกับ
              การเปลี่ยนแปลงธรรมชาติและสิ่งแวดลอมโดยตรง ทงยังมีฐานปฏิบัติการและการผลิตตั้งอยูในชุมชน
                     บริษัทธุรกิจสวนมากมองวา กิจกรรมสิ่งแวดลอมเปนเรื่องที่ไดทั้งผูให-ผูรับ (Win-Win) สวนที่
              “ได” ขององคกรคือความไดเปรียบทางการแขงขัน เชน การใหความรูดานสิ่งแวดลอมแกพนักงานใน
              องคกรเปนการลดตนทุนขององคกร การทํากิจกรรมสิ่งแวดลอมใหแกสังคมเปนการเสริมภาพลักษณ

              องคกร และเอื้ออํานวยผลประกอบการธุรกิจ รวมทั้งดึงดูดการลงทุนมากขึ้นในอนาคต (เชน ผูบริโภค
              และผูซื้อหุน) ตลอดจนลดความเสี่ยงตอแรงกดดันรอบดาน
                     องคกรธุรกิจสวนใหญไมไดคิดวาตนเองเปน “ผูใหความรูดานสิ่งแวดลอม” โดยตรง แตเปน
              ความรับผิดชอบตอสังคม
                     บริษัทธุรกิจสวนใหญที่ดําเนินกิจกรรมสิ่งแวดลอม ยังตองการการสนับสนุนองคความรู
              ทั้งดานสิ่งแวดลอมและสิ่งแวดลอมศึกษาจากผูเชี่ยวชาญ รวมถึงประสบการณและทักษะ
                     มีความพยายามปรับตัวใหหลุดพนจากกรอบของการประชาสัมพันธภาพลักษณ โดยการ
              เปนผูสรางสรรคกิจกรรมมากขึ้น และใหพนักงานเขามามีสวนรวมมากยิ่งขึ้น (บางก็วาเปนการทํา
              ประชาสัมพันธที่ซับซอนขึ้น) หรือปรับโครงสรางองคกรใหมีหนวยงานรับผิดชอบโดยตรง

                     นอกจากนี้  พบวาภาคธุรกิจมีแนวโนมที่จะบริหารและดําเนินกิจกรรมหรือโครงการ
              ดานสิ่งแวดลอมเอง เนื่องจากตระหนักแลววาการบริจาคหรือสนับสนุนดวยเงินไมอาจสรางกิจกรรมที่
              ยั่งยืนได ทั้งยังเปนภาระใหแกองคกรเนื่องจากจํานวนผูขอทุนมีมาก และธุรกิจบางรายพบวา องคกร
              พัฒนาเอกชนที่ตนสนับสนุนใชเงินทุนในการบริหารจัดการ (Management) มากกวาเนื้อหากิจกรรม
              ในอัตรา 60:40 และบางครั้งก็ดําเนินการลาชาหรือไมบรรลุเปาหมาย


















              50 ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ÊÙ‹ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁÈÖ¡ÉÒà¾×èÍ¡ÒþѲ¹Ò·ÕèÂÑè§Â×¹
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56