Page 15 - GL004
P. 15

อยูนอกแวดวงของมหาวิทยาลัย ในฐานะที่เปนแหลงความรูประเภทอื่น เราตองการผูที่มีความรูจาก

               ทุกๆ องคาพยพเพื่อเขามาชวยกําหนดทิศทางในเรื่องนี้...  อันที่จริง บอยครั้งที่มีการตั้งคําถามขึ้นวา
                                                          5
               ใครเปนผูตัดสินวาความรูชนิดใดมีคุณคา เราจะไววางใจใหมหาวิทยาลัยเปนผูตัดสินอะไรวาเปน

               คุณคาโดยลําพังไดละหรือ หรือวาสังคมอาจที่จะมีสวนรวมในการกําหนดวาความรูอยางใดที่มี
               คุณคาดวย เพราะชีวิตสังคมยอมเนนการอยูรวมกันอยางยั่งยืนนั่นเอง  หากแยกความดี ความงาม
                                                                     6
               ออกไปจากความรูเสียแลว เราจะนําเอาสิ่งใดมาสูอนาคตของมนุษยชาติ ดวยความหวงใย
               ตออนาคตที่ปราศจาก “คุณคาที่จะอยูรวมกัน” จึงจําเปนที่เราจะตองเรียนรูเรื่องการอยูรวมกัน

               เงื่อนไขใหมของการเรียนรูยอมจะตองไดรับการรังสรรคใหเกิดมีขึ้น
                       ประการที่สอง  จะเพิ่มมติของคุณคาพอเพียงและยั่งยืนเขาไปในวิธีวิทยา  ที่เนน
               “ความเปนกลาง” ไดอยางไร คําวา “วิชาความรู” ในปจจุบัน โดยเฉพาะวิชาความรูที่คุนชินไดยิน

               ไดฟงกันในรั้วมหาวิทยาลัยเปนความรูที่แบงแยกวิชาออกจากกันเพื่อพัฒนาศาสตรตางๆ จนเปน
               ระบบของวิชา การพัฒนาวิชาการในมหาวิทยาลัยไดอาศัยแบบจําลองที่วางอยูบนหลักของการ

               พัฒนาความรูที่มีความรูทางวิทยาศาสตรกายภาพเปนตนแบบ คือเอาเงื่อนไขความเปนกลาง มาเปน
               เงื่อนไขของการสรางความรูทั้งหลายทั้งปวงโดยไมรูตัวคือ ปลอยใหคุณคาของความรูตองตกอยูภาย
               ใตวิธีคิดเชิงเครื่องมือ โดยมิไดตระหนักถึงคุณคาของความรูในเชิงวิพากษ (Critical Knowledge)

               และความรูเชิงเตือนสติ (Reflexive Knowledge) ขณะเดียวกันความรูที่สะทอนถึงคุณคาสูงสงที่

               มนุษยพึงมุงหวัง (Humanistic Values) ยอมจะถูกกีดกันออกไปอยูชายขอบ มองอีกแงหนึ่ง
               ความรูวิทยาศาสตรที่ถือวาแข็งแกรงนักหนาก็กลับเปนความรูที่ขาดมิติของหัวใจของการ
               สํานึกรวมกัน โดยเฉพาะในบริบทของปญหาวิกฤตสิ่งแวดลอมและภูมิอากาศ วิทยาศาสตร

               และเทคโนโลยีสรางผลงานใหมหาวิทยาลัยไดมาก แตดานสังคมศาสตร ดานการศึกษา
               ดานมนุษยศาสตร ซึ่งวัดไดยากจึงเปนขออางที่จะละเลยคุณคาเหลานี้เสีย แมในหมูนักสังคมศาสตร

               เองก็กลับไปยึดคุณคาตามกระแสเชนนี้มิใชนอย






               5   คณะผูวิจัยโครงการนี้ไดแก รศ.สุริชัย หวันแกว, คุณปาริชาต ศิวรักษ, คุณนฤมล อภินิเวศ, คุณสุกรานต โรจนไพรวงศ,
                 คุณวรรณี พฤฒิถาวร, ดร.นฤมล อรุโณทัย, คุณรัตนา จารุเบญจ, คุณปาริชาต ชิตนุกูล, คุณวรดา ธรรมวิจิตร,
                 คุณจงจิตร นิลกรณ และคุณพรพิมล วิมลธาดา
               6   จรัส สุวรรณเวลา, สังคมความรูยุคที่ 2  สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรการแพทย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2547




              14
              14 ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ÊÙ‹ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁÈÖ¡ÉÒà¾×èÍ¡ÒþѲ¹Ò·ÕèÂÑè§Â×¹ ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ÊÙ‹ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁÈÖ¡ÉÒà¾×èÍ¡ÒþѲ¹Ò·ÕèÂÑè§Â×¹
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20