Page 12 - GL004
P. 12

ในเรื่องเงื่อนไขการสรางความรูและการใชความรูนี้ ใครจะขอตั้งขอสังเกตเปนคําถามเกี่ยวกับ

                                                                                  4
                 แรงจูงใจวา พลังขับเคลื่อนการสรางความรูและการใชความรูนั้นแทที่จริงแลวคืออะไร  เปนการมุงเนน
                 ที่ความสามารถในการแขงขัน การมุงกําไรมุงอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเทานั้น หรือวา

                 เราสนใจเรื่องนี้เพราะตองการมองเรื่องการอยูรวมกันที่ยั่งยืน มีการพัฒนาที่ยั่งยืนมากขึ้น เราคงปฏิเสธ
                 ไมไดวาเงื่อนไขการสรางความรูและการใชความรูเปลี่ยนแปลงไปมากในยุคโลกโลกาภิวัตน ดานที่

                 ขับเคลื่อนดวยพลังการแขงขันทางเศรษฐกิจนั้นชัดเจนในความรับรูโดยทั่วไป ดังที่เกิดขึ้นในแวดวงของ
                 หนวยงานราชการ และธุรกิจ รวมทั้งมหาวิทยาลัย แตอีกดานหนึ่งที่แมจะสอดรับไปดวยกันแตก็

                 ถูกพูดถึงนอยมากก็คือ ในเชิงลึกลงไปโลกปจจุบันก็ขับเคลื่อนดวยความสํานึกทางสังคมรวมกันมากขึ้น
                 ดวย เชน มีความตื่นตัวในมนุษยธรรมเพิ่มขึ้น ผูคนขามทวีปมีความรูสึกเปนหวงเปนใยมนุษยที่หางไกล
                 ในดินแดนคนละซีกโลกสามารถสัมผัสถึงความไมเปนธรรมในโลกที่แขงขันทางเศรษฐกิจอยาง

                 กวางขวาง จักรกลใดเลา ที่ขับเคลื่อนทศวรรษการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน? แมวาโครงการ
                 เหลานั้นจะมีตรายี่หอที่ทุกคนยอมรับรวมกัน แตในความเปนจริงไดมีการตระหนักถึงความหมายหรือ

                 คุณคาที่แทจริงของถอยคําเหลานั้นแคไหนเพียงไร จึงอยากใหเราหันมาตรวจสอบรวมกันวา เงื่อนไข
                 สิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนนั้น เกี่ยวของกับคุณคาแบบไหน แรงจูงใจอะไรที่จะนําไปสู
                 การยอมรับขอพิจารณาอันเรายังมิไดหันมาคิดใหมอยางเต็มที่นัก

                        ประการที่สาม โครงสรางกลไกที่รองรับการจัดสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
                 ควรจะเปนเชนไร โครงสรางและกลไกการศึกษาแตละที่ ตางก็มีประเด็นรายละเอียดอันผิดแผกกันไป

                 ในกรณีของโรงเรียนที่แมจะกลาวถึงการปฏิรูปการศึกษาแตโครงสรางและกลไกที่รองรับก็ไมไดเกื้อกูล
                 สิ่งที่ควรจะเปน ความตื่นตัวเรื่องการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนเกิดขึ้นในหลายที่ มีหลายโรงเรียน

                 หลายสถาบัน บุคคลที่เกี่ยวของทั้งในและนอกสถาบัน เราจะมีโครงสรางและกลไกรองรับอยางไร
                 โครงสรางกลไกที่เราพูดกันทั้งในมหาวิทยาลัยและนอกมหาวิทยาลัย อาทิ การสื่อสารในสังคม

                 บางครั้งก็นึกคิดไปในทางรูปธรรมเอาเลย ดังเชนความพยายามที่ไดรับความสําเร็จระดับหนึ่งก็คือการ
                 ตั้งสถานีโทรทัศนสาธารณะ โครงสรางและโอกาสที่เกิดขึ้นแบบเดิมไมพอ ตองสรางโครงสรางและ
                 โอกาสใหมหรือกลไกใหม หรือวิธีสรางความเชื่อมโยง (connectivity) แบบใหม ๆ


                 4   ในทํานองเดียวกัน พระพรหมคุณากรณ (ป.อ.ปยุตฺโต) ไดตั้งคําถามตอยุคสมัยปจจุบันไวในจักรใด ขับดันยุคไอที งานบุญ
                   กลุมขันธหา พฤษจิกายน 2550 สําหรับมหาวิทยาลัยซึ่งถูกรุกหนักจากกระแสการคาพาณิชย อดีตอธิการบดี มหาวิทยาลัย
                   ฮารวารด เขียนไวอยางนาสนใจใน  Derek Bok, Universities in The Market Place: The Commercalization of Higher
                   Education, 2003, Princeton, N.J. : Princeton University Press




                                                            ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ÊÙ‹ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁÈÖ¡ÉÒà¾×èÍ¡ÒþѲ¹Ò·ÕèÂÑè§Â×¹
                                                            ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ÊÙ‹ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁÈÖ¡ÉÒà¾×èÍ¡ÒþѲ¹Ò·ÕèÂÑè§Â×¹   11 11
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17