Page 8 - GL004
P. 8

“การศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนและพอเพียง:


                 ความทาทายและความรวมมือ”                      1

                                                                              รศ. สุริชัย หวันแกว



                        ในการรวมกันดําเนินการเกี่ยวกับเรื่องสิ่งแวดลอมศึกษาในสังคมปจจุบันมีขอโดดเดน
                 และปญหาทาทายอยางไรบาง หลายทานในที่นี้คงไดรวมอยูในการเปดตัวทศวรรษการศึกษา
                 เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (UN Decade of Education for Sustainable Development-UNDESD
                 2005-2014) ณ อาคารสหประชาชาติ   เมื่อวันที่ 19 ธ.ค. 2550 มาแลว ขณะเดียวกัน หลังการ
                                                2
                 ประชุมเวทีของสหประชาชาติเรื่องโลกรอนที่บาหลี ก็แสดงออกถึงความตื่นตัวดวยการพูดคุยในเรื่อง
                 เหลานี้กันอยางกวางขวาง บรรยากาศของการพูดจาอภิปรายที่ปรากฏอยูโดยทั่วไป ประกอบกับ
                 ความโชคดีที่บานเรามีพระราชดําริในเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเปนหลักอยูดวย สิ่งเหลานี้อาจ
                 นอมนําอารมณความรูสึกใหไปในทํานองที่วา การศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศของเรานั้น

                 เปนสิ่งที่ไดรับการดําเนินการกันอยูแลว จึงไมตองปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอะไรอีก ขอเพียงแตเราสนใจ
                 ชักชวนคนมาทําเพิ่มเติมใหมากขึ้นก็นาที่จะเพียงพอแลว
                        กลาวเฉพาะสถาบันวิจัยสังคมเองซึ่งไดมีนักวิจัยไปทํางานกับชาวมอแกนที่หมูเกาะสุรินทร
                 หลายคนทํางานเกี่ยวกับคนมีปญหา คนไทยที่ไรสถานะ หลายๆ คนในที่ประชุมนี้ก็ทํางานเกี่ยวกับ
                 ทองทะเลและคนชายขอบ พวกเราไดคนพบวา ผูคนซึ่งดํารงชีวิตอยูดวยการพึ่งพาอาศัยฐาน
                 ทรัพยากรธรรมชาติเหลานี้ ตองถูกกระทบกระเทือนจากแนวทางการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลง
                 ในยุคสมัยปจจุบันจนเหลือที่จะประมาณ  ภายใตสถานการณของประเทศเชนในปจจุบันนี้

                 ยอมเปนการบงบอกวาในดานหนึ่ง การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนยังคงเดินหนาตอไป
                 ในขณะที่ผูคนซึ่งมีชีวิตอยูชายขอบและชุมชนทองถิ่นก็เปนอีกโลกหนึ่ง โดยที่ตางคนตางอยูไมจําตอง
                 มีสวนเกี่ยวของกับการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลายเปนคนละเรื่องกันโดยปริยาย
                 ใชหรือไม




                 1   ในการประชุมเชิงปฏิบัติการพิจารณา “ราง” แผนหลักสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาอยางยังยืน (พ.ศ.2551-2555)
                   วันที่ 24 มกราคม 2551 ณ หองประชุมศศินทร ฮอลล ชั้น 9 สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
                   จัดโดยสถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รวมกับ กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
                   และสิ่งแวดลอม
                 2   จัดโดยคณะกรรมการแหงชาติวาดวยการศึกษาวิทยาศาสตรและวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ (UNESCO)






                                                            ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ÊÙ‹ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁÈÖ¡ÉÒà¾×èÍ¡ÒþѲ¹Ò·ÕèÂÑè§Â×¹
                                                            ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ÊÙ‹ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁÈÖ¡ÉÒà¾×èÍ¡ÒþѲ¹Ò·ÕèÂÑè§Â×¹  7 7
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13