Page 335 - การศึกษาวิเคราะห์หนังสืออะกีดะฮฺ อันนาญีน ฟี อิลมฺ อุศูล อัดดีน ของชัยคฺ ซัยนฺ อัลอาบิดีน เบ็น มุฮัมมัด อัลฟะฏอนีย์
P. 335
313
ฮะดีษข้างตนเป็นหลักฐานหนึ่งที่มายืนยันถึงความถูกต้องของการศรัทธาต่อ
กุรสีย์อันเป็นหลักการหนึ่งของอะฮฺลิสสุนนะฮ์ วัลญะมาอะฮ์ที่วาญิบต้องศรัทธา
4.11.3 เกาะลัม (ปากกา)
1
ผู้แต่งได้กล่าวถึงเกาะลัม (ปากกา) ว่า
ً٘تػٜ ٢ْاصْٛ ؼٜ ضغب ١َأ ؼٜ ِغد ئاي ًِق ٔنراكتعا تٝن بداٚ ) ٨٬ٓٝهَر ٕر " (
ؼٝغضب ٕار ٣أ ارا ً٘ت ؼٝغضب ٙصٛجَ ٔغر ٣زٓنا ٣أ ٙصٛجَ ٕار لىاعت للها ٘يٚأ ٣زٓهٜزذَٓ
ػتاص ِٝي تٜا ًِق ؼذٓؾ ٤اًُع ٘ػتع تان ١َاٝق ٣صاٖ ٧ػٖ ٣زٓنا ٔنارار ٔنا ٨٫
فابرب ٔنراكتعا تٝن بداٚ ) ٨٬ٓٝهَر ٕار ( اٛد ينهَر خبرٝي ٕار ٔٓيادضؾ ٖٔات
ػتا ٔهتصٛجَ ؼٜ اتمضؿػٜ ٢٥اٗب ٧ٝت ئ يرم ٍَٛضب ٠صٛجَ ٔغر ٔهًٝنٚزػٜ ة ئ م
لمارر ؼٝغضب ٔنا ظٛؿنح حٛي زؾصر ٠صٛجَ ؼٜ اٚزهػٜ ٕار اْٝر لمارر خابُٖ ٌُع ٌ٦ع
٠صٛجَ ؼٜ ٧ٝتهػٜ ٕار ٖٔات ٢ ـٝت زؾ لماع زؾ فضضت ٔغر ٔهًٝنٚزػٜ ة ئ م ـشص
" شضع ٙٚابر ٔنترٖٓزػٜ باتن ٔنا ة ئ م ـشص زؾ
แปลว่า “และวาญิบกับเราเช่นกันต้องศรัทธาต่อเกาะลัม กล่าวคือมวลสารที่ยิ่งใหญ่
ที่เป็นนูรซึ่งสร้างมันโดยอัลลอฮ์ตะอาลาและพระองค์ทรงสั่งมันให้เขียนในสิ่งที่มีอยู่
และสิ่งที่จะมีขึ้นข้างหน้าจนกระทั่งวันกิยามะฮ์ มีบางอุละมาอ์กล่าวว่าความยาวของ
เกาะลัมนั้นห้าร้อยปีของระยะการเดินทางและความกว้างของมันก็เช่นเดียวกัน และ
วาญิบกับเราเช่นเดียวกันต้องศรัทธาว่ามีบรรดามะลาอิกะฮ์ที่ถูกมอบหมายให้เขียน
พวกเขานั้นมีสามส่วน ส่วนที่หนึ่งผู้ที่เขียนเกี่ยวกับการงานต่าง ๆ ของบ่าวบนโลก
ส่วนที่สองผู้ที่เขียนจากเลาฮ มะฮฟูซฺ (แผ่นจารึก) เกี่ยวกับสิ่งที่มีในหนังสือของ
มะลาอิกะฮ์ที่ถูกมอบหมายให้ดําเนินงานบนโลกในทุกๆ ปีและส่วนที่สามผู้ที่เขียนใน
หนังสือของมะลาอิกะฮ์ที่ถูกส่งไปที่ใต้อะรัช”
การเข้าใจเกาะลัมจะต้องเข้าใจทั้งเชิงภาษาและเชิงวิชาการ
ก. เกาะลัม (ปากกา) เชิงภาษา
ى
คําว่า “เกาะลัม” ( مى لػ ) คือ คําภาษาอาหรับเป็นคํานามมาจากรากศัพท์ของคําว่า
ه
ً
ا
ن ى ٍ
( مٍ لػ ملقػي مى لػ ) อ่านว่า เกาะละมะ ยักลิมุ กัลมัน “อัลเกาะลัม” ( مى لقلا) หมายถึง ปากกา กรรไกรตัด
ى
ى
ي ى ى
ه
ผมหรือเล็บ และลูกศรที่ใช้คัดเลือกในการพนันหรือจับสลาก พหูพจน์ของมันคือ อัลอักลาม ( ـ ى مأا)
ى ٍ
ي
ً
ى
ي
และ “อัลกิลาม” ( ـ قلا) (Ἰbrāhīm Musṭafā et al, 1972 : 2/757; („Ἀhmad Mukhtār, 2008 :
3/1854).
1 Tuan Mināl, n.d.: 108.