Page 267 - 049
P. 267
253
้
ขอเสนอแนะ
ั
ิ
ื่
ู
ิ
จากการวิจัยเรองรปแบบการพัฒนาสมรรถนะการบรหารความขัดแย้ง ส าหรบผู้บรหาร
ึ
สถานศกษา สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศกษาขั้นพื้นฐาน ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ผู้วิจัยม ี
ึ
ข้อคดเหนและข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาสมรรถนะการบรหารความขัดแย้ง ส าหรบผู้บรหาร
ิ
็
ิ
ั
ิ
ึ
สถานศกษาไว้ 2 ประเด็นหลัก ดังน้ ี
ั
้
1. ขอเสนอแนะสาหรบการนารูปแบบไปใช ้
1.1 สมรรถนะการบรหารความขัดแย้งมความส าคัญต่อการพัฒนาองค์กร
ิ
ี
ั
ิ
ุ
ึ
่
ซงประกอบด้วยทรพยากรบคคล โดยผู้บรหารในฐานะผู้น าองค์กรต้องน าหลักสมรรถนะมาใช้
ิ
ุ
ั
ิ
ในการบรหารทรพยากรบคคล เพื่อให้การปฏบัตงานของข้าราชการและส่วนราชการม ี
ิ
ึ
ิ
ิ
ประสทธภาพและประสทธผลยิ่งข้น โดยเฉพาะสมรรถนะการบรหารความขัดแย้ง ทประกอบด้วย 6
ิ
ี่
ิ
ิ
ื
องค์ประกอบ คอ
ิ
1) การควบคมและบรหารความขัดแย้ง (Control and Solve of Conflict)
ุ
ิ
ื
2) การเผชญความขัดแย้งด้วยภาวะผู้น าอย่างเหนอชั้น (Confront of Conflict
with Superior Leadership)
์
3) การสรางความสัมพันธและความเสมอภาค (Relationships and Equality)
้
4) การจัดการองค์กรเพื่อรกษาสมดลของความขัดแย้ง (Organizing for
ุ
ั
Conflict Balance)
5) การยอมรบความหลากหลายทางวัฒนธรรม (Respect for Cultural
ั
Diversity)
6) การควบคมตนเองในสถานการณความขัดแย้ง (Self-control in Conflict
ุ
์
Situations)