Page 268 - 049
P. 268
254
ิ
ั
สมรรถนะการบรหารความขัดแย้งทั้ง 6 องค์ประกอบ ควรได้รบการพัฒนาและให้
่
ุ
์
ี
ความส าคัญ โดยเฉพาะการควบคมตนเองในสถานการณความขัดแย้ง ซงจะมผลต่อการพัฒนา
ึ
็
ู
้
ู
ี
ื่
ุ
สมรรถนะสงสด เนองจากเปนลักษณะเฉพาะตัวบคคลในการใช้ความถนัดเรยนรงานอย่างถกต้อง
ุ
ู
ิ
และน าไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กร ส่งส าคัญของกระบวนการพัฒนาสมรรถนะ
ึ
ื
ั
้
ิ
ึ
ี
ส าหรบผู้บรหารสถานศกษาคอแรงจูงใจ การสรางแรงจูงใจให้เกิดข้นในคนท างาน มความส าคัญใน
ุ
็
ิ
้
การด าเนนงานให้ประสบความส าเรจตามเปาหมาย เพราะแรงจูงใจจะช่วยกระต้นและผลักดันให้
ี่
ั
ี่
บคคลมความรก ความตั้งใจ มก าลังใจ ขยันหมั่นเพียรและเต็มใจทจะปฏบัตงานในหน้าทอย่างเต็ม
ี
ี
ิ
ิ
ุ
ความสามารถ (ทับทม วงศ์ประยูร, 2554) และหากผู้รบการพัฒนาขาดแรงจูงใจก็จะไม่มการพัฒนา
ิ
ั
ี
ึ
่
โดยเฉพาะหากไม่เกิดแรงผลักดันภายใน (Self-Motivation) ซงแรงขับภายในจะเกิดจากการประเมน
ิ
ี่
ิ
ู
ั
ี
ี่
ตนเองและรบรถงความแตกต่างระหว่างส่งทองค์กรคาดหวังกับสมรรถนะทตนเองมอยู่
้
ึ
ึ
ิ
ี
1.2 ผู้บรหารสถานศกษาควรน าผลการวิจัยคร้งน้เปนข้อมูลส ารวจระดับสมรรถนะ
็
ั
ี
การบรหารความขัดแย้ง และวิธหรอกระบวนการพัฒนาปรบพฤตกรรมของตนเอง รองผู้อ านวยการ
ื
ิ
ั
ิ
่
ิ
ี
ุ
ื
ู
้
ึ
สถานศกษา หัวหน้างาน หัวหน้าฝาย หรอหัวหน้ากล่มสาระการเรยนรอย่างจรงจัง โดยไม่ต้องรอผล
ิ
การสนับสนนส่งเสรมหรอนโยบายจากต้นสังกัด
ุ
ื
1.3 ผู้บรหารสถานศกษา ควรมแผนงานการตดตามการพัฒนาสมรรถนะ
ิ
ิ
ี
ึ
้
ิ
ิ
ี
การบรหารความขัดแย้ง โดยการประเมนผลจากการปฏบัตงาน พรอมทั้งจัดให้มกระบวนการ
ิ
ิ
ั
ุ
ื
สนับสนนการด าเนนการด้วยการสอบถามกับผู้รบการพัฒนา ว่าจะพัฒนาสมรรถนะด้านใดหรอ
ิ
ี่
ี
ี่
ุ
้
ุ
ยังขาดทักษะใดทจะช่วยให้บรรลเปาหมายในการท างานให้ดทสด เพื่อเปนแนวทางใน
็
้
ี
ิ
ิ
ิ
การเสรมสราง พัฒนาและปรบปรงสมรรถนะการบรหารความขัดแย้ง อกทั้งเสรมสรางบรรยากาศ
้
ุ
ั
ิ
้
ู
ุ
ู
ี
ในการพัฒนาบคลากรให้ด าเนนไปอย่างต่อเนองจนพัฒนาไปส่วัฒนธรรมแห่งการเรยนรด้วยตนเอง
ื่
และเปนองค์กรแห่งการเรยนรในศตวรรษท 21
ู
็
ี่
ี
้
1.4 ผู้บรหารสถานศกษาควรน าผลการประเมนสมรรถนะการบรหารความขัดแย้ง
ิ
ิ
ึ
ิ
มาเปนข้อมูลในการปรบปรง ฝกฝนสมรรถนะนั้นๆ จนเปนนสัย และมการสอนงาน (Coaching)
ิ
็
ึ
ุ
ั
็
ี
ี
ี
ู
้
ิ
ิ
ู
้
ี
ื่
เพิ่มพูนความร เรยนรเพิ่มเตมจากกระบวนการเรยนรของคนอน นอกจากน้ควรน าผลการประเมน
ู
้
สมรรถนะการบรหารความขัดแย้งไปเปนส่วนหนงของการพิจารณาความด ความชอบและ
ี
็
่
ึ
ิ
ิ
การประเมนผลการปฏบัตราชการ
ิ
ิ