Page 266 - 049
P. 266
252
ิ
ู
ื่
การรจักตนเอง (Knowing Yourself) การครองสต (Maintaining Control) การอ่านใจผู้อน (Reading
้
ื่
ั
้
ู
Others) การรบรอย่างชัดเจน (Perceiving Accurately) การสอสารให้เข้ากับสถานการณ ์
(Communicating with Flexibility) โดยได้เสนอแนะเทคนคการพัฒนาทักษะด้วย การปล่อยให้
ิ
ึ
ิ
ั
ึ
ตนเองคดใคร่ครวญ ทบทวน ไตร่ตรอง และการฝกหายใจเข้าลกๆ อย่างช้าๆ 3 คร้ง ขณะหายใจ
ุ
้
ี่
ั
ึ
ม่งความสนใจไปยังอากาศทไหลเข้าและออก พรอมทั้งฝกการฟงอย่างจดจ่อ (Focused Listening)
ื่
มการส ารวจความคดใหม่ รวมถงทักษะขั้นสง ได้แก่ การเชอมโยงวิสัยทัศน (Vision Linking) และ
ี
ึ
ู
ิ
์
ิ
้
่
ึ
การสรางแรงบันดาลใจ (Lighting the Fire) ซงจากแนวคดและงานวิจัย เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะ
ื่
ู
ภาวะผู้น าและรปแบบกระบวนการในการพัฒนาผู้น า สอดคล้องกับงานวิจัยเรองรปแบบการพัฒนา
ู
ิ
ึ
ิ
สมรรถนะการบรหารความขัดแย้งส าหรบผู้บรหารสถานศกษาขั้นพื้นฐาน ในจังหวัดชายแดน
ั
ภาคใต้ ในคร้งน้ ี
ั
่
ึ
ี่
ี
็
อนงจากสภาพทางสังคมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เปนสังคมทมความหลากหลายทาง
ี่
ั
ิ
ั
ิ
วัฒนธรรม จงเหมาะสมทจะน าแนวคดจตตปญญาศกษา มาประยุกต์ใช้ส าหรบการพัฒนาสมรรถนะ
ึ
ึ
ั
การบรหารความขัดแย้ง ส าหรบผู้บรหารสถานศกษาขั้นพื้นฐาน ในจังหวัดชายแดนภาคใต้
ิ
ิ
ึ
ี่
ิ
ิ
ั
ิ
้
ึ
่
ี
ซงสอดคล้องกับแนวคดของ ธนา นลชัยโกวิทย์ (2551) ทกล่าวว่า การเรยนรตามแนวคดจตตปญญา
ู
ิ
่
ุ
ี
ึ
ึ
ิ
ื่
ึ
ึ
ศกษา ต้องค านงถงบรบททางสังคมและวัฒนธรรมของชมชนนั้นๆ ซงมความเชอมโยงสัมพันธกับ
์
ื่
ิ
ความเชอแนวปฏบัตของศาสนาทตนนับถอ ดังนั้นแนวคดจตตปญญาศกษา จงเหมาะสมกับสภาวะ
ิ
ั
ึ
ี่
ึ
ิ
ื
ิ
ื่
ั
ิ
สังคมพหวัฒนธรรมทสมาชกสังคม มความหลากหลายความเชอ จตตปญญาศกษาจงเปนกิจกรรมท ี่
ิ
ี่
ึ
ุ
ี
็
ึ
็
ี
ิ
ู
ี
้
ี
ี่
จะเปดพื้นทแห่งการเรยนรให้มโอกาสร่วมกิจกรรมเสวนาอย่างกัลยาณมตร เปนกระบวนการเรยนร ู ้
ิ
ู
ี่
ทน้อมส่ใจอย่างใคร่ครวญ เน้นการไตร่ตรองคดทวนอย่างมสต เปนการเรยนรผ่านประสบการณ ์
ู
้
ี
ิ
็
ิ
ี
ิ
ิ
ตรงเน้นการปฏบัตจรง เพื่อการพัฒนาคน และส่งเสรมการอยู่รวมกันในสังคมพหวัฒนธรรมอย่าง
ิ
ุ
ิ
สันตสข
ุ
ิ