Page 23 - 049
P. 23
9
กรอบแนวคิดในการวิจัย
ุ
ี
ั
ิ
ู
ี่
การวิจัยคร้งน้ม่งทน าเสนอรปแบบการพัฒนาสมรรถนะการบรหารความขัดแย้ง
ส าหรบผู้บรหารสถานศกษา สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศกษาขั้นพื้นฐาน ในจังหวัด
ึ
ึ
ั
ิ
ชายแดนภาคใต้ โดยผู้วิจัยแบ่งวิธการด าเนนการวิจัยเปน 2 ระยะ ดังน้ ี
ี
็
ิ
ิ
์
ระยะที่ 1 วิเคราะหองค์ประกอบสมรรถนะการบรหารความขัดแย้งโดยใช้แบบสอบถาม
ี่
้
ึ
ทสรางข้นจากการศกษา วิเคราะหหลักการ แนวคดและทฤษฎเกี่ยวกับ 1) สมรรถนะ 2) การบรหาร
ึ
์
ิ
ิ
ี
ุ
ิ
ึ
์
ี
ิ
ุ
ความขัดแย้ง 3) สันตศกษา 4) ชาตพันธ 5) สานเสวนา 6) พหวัฒนธรรม และ 7) การมส่วนร่วมของ
์
ิ
ประชาชน โดยน าไปวิเคราะหองค์ประกอบเชงส ารวจ (Exploratory Factor Analysis) เพื่อได้
ิ
ั
ึ
ิ
องค์ประกอบสมรรถนะการบรหารความขัดแย้ง ส าหรบผู้บรหารสถานศกษา สังกัดส านักงาน
ึ
คณะกรรมการการศกษาขั้นพื้นฐาน ในจังหวัดชายแดนภาคใต้
ระยะที่ 2 รปแบบการพัฒนาสมรรถนะการบรหารความขัดแย้ง ส าหรบผู้บรหาร
ิ
ั
ู
ิ
สถานศกษา สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศกษาขั้นพื้นฐาน ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยจัดท า
ึ
ึ
โครงสรางระบบการพัฒนาสมรรถนะการบรหารความขัดแย้ง ซงอาศัยหลักการ แนวคดและทฤษฎ ี
ิ
่
ึ
้
ิ
้
ิ
ู
เกี่ยวกับ 1) การสรางรปแบบ 2) แนวคดการพัฒนาสมรรถนะ 3) แนวคดจตตปญญา เปนแนวทางในการ
็
ั
ิ
ิ
็
ู
ี่
ก าหนดโครงสรางระบบ จากนั้นน าองค์ประกอบจากผลการวิจัยในระยะท 1 มาผนวกเปนรปแบบ
้
ิ
ิ
ั
การพัฒนาสมรรถนะการบรหารความขัดแย้ง ส าหรบผู้บรหารสถานศกษา สังกัดส านักงาน
ึ
ี่
ึ
ึ
คณะกรรมการการศกษาขั้นพื้นฐาน ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ น าเสนออาจารย์ทปรกษาพิจารณา
ุ
ิ
ุ
ิ
ึ
์
จากนั้นจงน าไปสัมภาษณผู้ทรงคณวฒ และน ามาปรบปรงอกคร้งก่อนการจัดสนทนากล่มกับผู้บรหาร
ั
ี
ั
ุ
ึ
สถานศกษา เพื่อประเมนรปแบบดังกล่าว และสรปเพื่อน าเสนอต่อไป ดังภาพประกอบ 1
ู
ุ
ิ