Page 39 - 032
P. 39
19
ศุกรและปดภาคเรยนในช่วงเดอนรอมดอน (เดอนท 9 ตามปฏิทินอาหรบ) เพราะมสลมต้องถอศีล
ื
ี
ุ
ั
์
ิ
ื
ี่
ื
ิ
ิ
อดตามบทบัญญัติอสลาม (กระทรวงศึกษาธการ, 2543)
ิ
ในที่สด ในป พ.ศ. 2491 รฐบาลจงอนญาตให้โรงเรยนที่มความพรอมท าการเปด
ี
ุ
ึ
ิ
ั
ุ
ี
ี
้
สอนวิชาภาษามลายูและศาสนาอสลามได้ โดยอนญาตให้ท าการสอนได้สัปดาหละ 5 ชั่วโมง
ิ
ุ
์
ั
ู
ุ
ิ
ู
ั
ส าหรบครผู้สอนนั้นได้มการบรรจแต่งตั้งในต าแหน่งครสอนศาสนาและภาษามลายูให้ได้รบเงน
ี
ื
ค่าตอบแทน 500 บาทต่อเดอน
ู
ี
การสอนในรายวิชาดังกล่าวในระยะแรก ทางราชการไม่มหลักสตรและเอกสาร
ู
ู
ื
ประกอบหลักสตรการสอนให้ ครผู้สอนจะต้องหาเน้อหามาสอนด้วยตนเอง ในวิชาภาษามลายูมคร ู
ี
บางคนได้น าหนังสอ เปอมมปนบาจาอันยาวี (Permimpin Bachaanjawi) เขียนโดย มฮัมมัด
ู
ิ
ื
ิ
ี
ึ
่
ึ
ู
์
ซอและห บิน มฮัมมัด (Mohd. Saleh bin Mohamed) ซงใช้สอนอยู่ในโรงเรยนระดับประถมศกษา
ุ
ุ
ของประเทศมาเลเซยมาสอน ส าหรับวิชาศาสนาอสลามส่วนใหญ่จะใช้หนังสอ มาสาอลลมบตาดย์
ิ
ื
ี
ี
ิ
็
ื
ื
ึ
่
(MASAILUL MUBTADI) ซงเปนหนังสอลักษณะถาม – ตอบ ม 2 รายวิชา รวมอยู่ในหนังสอเล่ม
ี
ี
ื
ี่
เดยวกันคือ วิชาฟกฮและวิชาเตาฮด สมัยก่อนหนังสอเล่มน้มผู้รศาสนานยมใช้สอนแก่ผู้ทเร่มเรยน
ี
ี
ู
ิ
ิ
ฺ
ิ
ี
้
ี
ี
ตามมัสยิดต่าง ๆ อย่างแพร่หลาย ต่อมาช่วงหลังได้ใช้แบบเรยนของกระทรวงศกษาธการโดยตรง
ิ
ึ
ึ
ซงแต่งโดยขุนจรรยาวิธาน
่
ื
็
ี่
ี่
ช่วงท 4 ระหว่าง พ.ศ. 2500 – 2518 เปนช่วงของการเปลยนแปลงทางการเมอง
การปกครองอย่างรนแรง ส่งผลกระทบต่อการเรยนการสอนศาสนาอสลามในโรงเรยนระดับ
ุ
ิ
ี
ี
ประถมศึกษาเปนอย่างมาก กล่าวคือ เมอวันท 6 กันยายน พ.ศ. 2500 จอมพลสฤษด ธนะรชต์ ได้ท า
ื่
ี่
ั
็
ิ
์
ู
การยึดอ านาจการปกครองจากจอมพล ป.พิบลสงคราม และได้รบการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ด ารง
ั
ั
์
ต าแหน่งนายกรฐมนตร เมอวันท 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506 เหตการณบ้านเมองในช่วงนั้นได้
ื่
ุ
ี
ี่
ื
เปลยนแปลงไปตามความต้องการทางการเมองการปกครองของรฐบาลอย่างเหนได้ชัดเจน (ลขิต
ิ
็
ั
ี่
ื
ี
ั
ู
ธรเวคิน, 2541) โดยเฉพาะการใช้อ านาจในมาตรา 17 ของรฐธรรมนญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.
ู
ี่
2502 และมส่วนส่งผลกระทบต่อความรสกของราษฎรทนับถอศาสนาอสลามยิ่งโดยเฉพาะทอาศัย
ี่
ึ
้
ื
ิ
ี
ิ
ี
อยู่ใน 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้คือ การประกาศยกเลกการเรยนการสอนภาษามลายูและศาสนา
ื
ิ
ี
ิ
ิ
ี
์
อสลามในโรงเรยนทั้งยังยกเลกการหยุดราชการในวันศกรและการปดภาคเรยนในเดอนรอมาดอน
ุ
ี่
ด้วย ผลจากการเปลยนแปลงทางการเมองการปกครองดังกล่าวข้างต้นนั้น ท าให้บทบาทหน้าทและ
ื
ี่
ู
ี่
ู
็
ฐานะของครผู้สอนภาษามลายูและศาสนาอสลามในจังหวัดสตูลเปลยนเปนข้าราชการครวิสามัญ
ิ
ี
ท าหน้าที่สอนวิชาสามัญตามที่โรงเรยนก าหนดให้ (กระทรวงศึกษาธการ, 2543)
ิ
จากประวัติความเปนมาในช่วงดังกล่าวข้างต้น สรปได้ว่า การเรยนการสอนภาษา
็
ี
ุ
ี
มลายูและศาสนาอสลามในโรงเรยนประถมศึกษาในจังหวัดสตูลมมานาน การเรยนการสอนแต่ละ
ี
ิ
ี