Page 39 - 025
P. 39
39
ู้
ั
ความว่า “ พระองค์จะทรงประทานความรให้แก่ผู้ที่พรองค์ทรงประสงค์ และผู้ใดที่ได้รบ
ั
ั
ู้
ความร แน่นอนเขาก็ได้รบความความดีอนมากมาย และไม่มีใครจะราลึก นอกจากบรรดาผู้ที่มี
สติปัญญาเท่านั้น” (อัลกุรอาน 2: 269)
จากข้อมูลของส านักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดสตูล ในปีการศึกษา 2555 ปรากฏว่า
ปัจจุบันจังหวัดสตูลมีโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในระบบ จ านวน 16 โรงเรียน
ี
ิ
ี
ิ
การจัดการเรยนการสอนอสลามศึกษาในโรงเรยนเอกชนสอนศาสนาอสลามจังหวัด
ี
ุ
ั
ชายแดนภาคใต้ ได้มีการพัฒนาและปรบปรงให้สอดคล้องกับการจัดการเรยนการสอน ตาม
ิ
ั
พระราชบัญญติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ดังจะเห็นได้จากหลักสูตรอสลามศึกษา พุทธศักราช
2546 ซึ่งได้มีการเปลี่ยนแปลงการจัดการเรยนการสอนต่างจากหลักสูตรอสลามศึกษาในอดีต
ี
ิ
โดยเฉพาะช่วงชั้น ซึ่งได้ก าหนดดังนี้ (นิเลาะ แวอุเซ็ง. 2550: 15 - 16)
ช่วงชั้นที่ 1 ระดับอิสลามศึกษาตอนต้น (อิบตีดาอยะฮฺ) ปีที่ 1 – 3
ี
ช่วงชั้นที่ 2 ระดับอิสลามศึกษาตอนต้น (อิบตีดาอียะฮฺ) ปีที่ 4 – 6
ช่วงชั้นที่ 3 ระดับอิสลามศึกษาตอนกลาง (มุตวัซซีเฏาะ) ปีที่ 1 – 3
ช่วงชั้นที่ 4 ระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวียะฮฺ) ปีที่ 1 – 3
ี
ิ
การจัดการเรยนการสอนตามหลักสูตรอสลามศึกษา พุทธศักราช 2546 จะมุ่งพัฒนาผู้เรยน
ี
ู้
ิ
ให้เป็นคนดี มีความร ทักษะ และเจตคติที่ดีต่อศาสนาอสลาม ซึ่งมีการก าหนดสาระการเรยนรตาม
ี
ู้
ี
ื
ู้
ื
หลักสูตร ซึ่งประกอบด้วยองค์ความร ทักษะ หรอกระบวนการเรยนร และคุณลักษณะหรอค่านิยม
ู้
คุณธรรม จริยธรรมของผู้เรียน ซึ่งแบ่งเป็นกลุ่ม ดังนี้
ั
ั
ฺ
ั
ิ
1. กลุ่มสาระศาสนาอสลาม ประกอบด้วย อลกุรอานและอตตัฟซีร อลฮะ
ดีษ อัลอะกีดะฮฺ อัลฟิกฮฺ
2. กลุ่มสาระสังคมศึกษาและจริยธรรม ประกอบด้วย อัตตารีค อัลอัคลาก
3. กลุ่มสาระภาษา ประกอบด้วย ภาษาอาหรับ และภาษามลายู
นอกจากนี้ โรงเรยนเอกชนสอนศาสนาอสลามยังมีการจัดการเรยนการสอนตามหลักสูตร
ิ
ี
ี
ี
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งมุ่งพัฒนาผู้เรยนทุกคน ซึ่งเป็นก าลังของชาติ
่
ให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านรางกาย ความร คุณธรรม มีจิตส านึกในความเป็นพลเมืองไทย
ู้
ั
และพลเมืองโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนมีพระมหากษัตรย์ทรงเป็น
ิ
ประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติ ที่จ าเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและ
การศึกษาตลอดชีวิต หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จึงก าหนดให้
ผู้เรียนเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้
1. ภาษาไทย