Page 51 - 0051
P. 51

44     วรภาคย์ ไมตรีพันธ์














                         Emotional journey  Productive Failure                         Learning journey











                                                          e (    m      ) y e n r u o j   l a n o i t o
                                                                      ) y e n r u o j   g n i n r a e l (





                                                       ภาพั 4
                         ั
                                                  ี
                                           ิ
                                                    ิ
                   คืว่าม้ส่ม้พันธิ์ระหว่่างคืว่าม้ผู้ด้พลาด้ที่�เกด้ประโยชิน์ เส่้นที่างคืว่าม้ร้ส่ึก และเส่้นที่างการเรียนร ้ ้
                                                                          ้
                              ด้ด้แปลงจาก: Innovative Teaching Scholars Program (2021c)
                               ั
                ข�อเสนอแนะต่อการจััดการเรียนร�เชิิงรกในบริบททมีความหลากหลายทางวฒนธิรรม
                             ่
                                                              �
                                                                                    ั
                                                              ี
                                               ้
                                                   ุ
                ข้อเส่นอแนะต์่อการจด้การเรียนรเชิิงรุกในบริบที่ที่ม้คืว่าม้หลากหลายว่ัฒนธิรรม้ นำเส่นอผู้่านประส่บการณ์ ์
                                                         �
                                                         ี
                                  ั
                                            ้
                                            ้
                                                          ี
                 ้
                                          ่
            ของผู้เขียนและมุ้ม้ม้องจากการเข้ารว่ม้หลักส่้ต์รพัฒนานว่ัต์กรรม้การส่อนของม้หาว่ิที่ยาลัยส่แต์นฟอรด้โด้ยม้  ี
                                                                                                 ์
                 ้
            รายละเอียด้ด้ังนี �
                                                                  ื
                                                                ี
                1. การส่่งเส่รม้ว่ัฒนธิรรม้ในชิ�นเรียน (classroom culture) ที่�เอ�อต์่อการเรียนรเชิิงรุก เชิ่น ว่ัฒนธิรรม้การที่ำงาน
                          ิ
                                       ั
                                                                              ้
                                                                              ้
             ่
                                                                       ิ
                                                                                                      �
                                                                                                      ี
                                          ิ
            รว่ม้กัน ว่ัฒนธิรรม้การแส่ด้งคืว่าม้คืด้เห็น ว่ัฒนธิรรม้การยอม้รับคืว่าม้ผู้ด้พลาด้ เป็นต์้น คืว่รคืำนึงถึึงบริบที่ที่ม้  ี
                                        ื
                                        �
                                               ั
                                                                 ี
                                                               ้
                                                                                                  ่
                                                                                         ี
                                                       ี
                                                       �
            คืว่าม้หลากหลายที่างว่ฒนธิรรม้ เนองจากว่ฒนธิรรม้ที่บานของผู้้เรยน (home culture) อาจจะม้คืว่าม้แต์กต์างจาก
                                                        ้
                              ั
                                                                ้
                                                                                                 ั
            ว่ัฒนธิรรม้ของโรงเรียน (school culture) ยกต์ว่อย่างเชิ่น ผู้เรียนบางคืนอาจจะไม้่กล้ายกม้ือถึาม้ในชิ�นเรียน
                                                                ้
                                                     ั
                                                                                        ื
                    ้
                                                       ื
            เพราะอยภายใต์้ว่ัฒนธิรรม้ที่ี� ‘การเส่ียหน้า’ เป็นเร�องส่ำคืัญ่ จึงร้้ส่ึกอายที่ี�จะเปิด้เผู้ยให้เพ�อนในห้องที่ราบว่่า
                    ่
                                                ั
                                                                          ื
                                                                                                      ั
            ต์นเองไม้่เข้าใจบที่เรียน ในที่างกลับกัน การต์�งคืำถึาม้ในชิั�นเรียนอาจจะเป็นเร�องปกต์ิส่ำหรับบางว่ัฒนธิรรม้ ด้ังน�น
            ห้องเรียนคืว่รกำหนด้ว่ัฒนธิรรม้ในชิ�นเรียนที่�ผู้เรียนทีุ่กคืนยอม้รับว่่าการต์�งคืำถึาม้กับคืรหรอกบเพอนรว่ม้ชินเรยน
                                                 ้
                                                ี
                                                 ้
                                         ั
                                                                                              ่
                                                                                           �
                                                                                                     ี
                                                                                                  ั
                                                                                                  �
                                                                                           ื
                                                                                   ้
                                                                       ั
                                                                                       ั
                                                                                     ื
              ื
                            ี
                                                                 ้
                                                                 ้
                                           ิ
                                                 ื
                                        ิ
            เพ�อขอคืำอธิิบายเก�ยว่กับเน�อหาเพ�ม้เต์ม้เป็นเร�องปกต์ิในการเรียนรเชิิงรุก
                                  ื
                2. การออกแบบการจด้การเรียนรเชิิงรุกคืว่รเปด้โอกาส่ให้ผู้เรียนผู้จญ่ภัยในโซึ้นการเรียนรที่ม้คืว่าม้สุ่ขและ
                                            ้
                                                                 ้
                                                                 ้
                                            ้
                                                                                            ี
                                                                                           ี
                                   ั
                                                       ิ
                                                                                          ้
                                                                                          ้
                                                                                           �
                                            ้
                                                                         ้
                                         ั
            ส่นุกส่นาน (splash zone) จากน�นผู้้ส่อนคืว่รส่ังเกต์คืว่าม้ส่าม้ารถึของผู้้เรียนแต์่ละคืนและออกแบบกิจกรรม้
                     ้
                                                                                                   ุ
                     ้
                                                               ้
                                                                                       ้
                                                                                       ้
            การเรียนรในโซึ้นไม้ส่ะด้ว่กส่บาย (discomfort zone) ใหส่อด้คืล้องกับศักยภาพของผู้เรียนเป็นรายบคืคืล
                             ่
                                                                                      ้
              ื
                                                       ี
                                                                                      ้
                     ้
            เน�องจากผู้เรียนแต์่ละคืนม้ศักยภาพและข้อจำกด้ที่�แต์กต์่างกัน ผู้้ส่อนจึงคืว่รผู้ลักด้ันให้ผู้เรียนแต์่ละคืนได้รับ
                                                    ั
                     ้
                                                                                                     ้
                                   ี
                                                                   ้
                                                                                            �
                                                                          ์
                                                                                            ี
            การพัฒนาเต์ม้ต์าม้ศักยภาพของต์นเอง ถึึงแม้้ว่่าทีุ่กคืนจะได้รับส่ถึานการณ์ปญ่หาหรือภาระงานที่คืล้ายคืลึงกัน
                       ็
                                                                           ั
                                                              ้
                                                       ิ
                         ้
                     ั
            นอกจากน�น ผู้้ส่อนต์้องอด้ที่นที่ี�จะส่ังเกต์การณ์์เผู้ชิญ่คืว่าม้ยากลำบากและคืว่าม้พยายาม้ในการแก้ปญ่หาของ
                                                                                                ั
                                                                   ้
                             ่
               ี
                                                                                          ้
                                       ่
              ้
                                                                              ้
            ผู้เรยนโด้ยไม้่เข้าไปชิว่ยเหลือ แต์ต์้องหาจังหว่ะที่�เหม้าะส่ม้ในการใหคืำแนะนำแก่ผู้เรียน เพ�อให้ผู้เรียนได้้พยายาม้
                                                                                      ื
                                                                              ้
                                                    ี
              ้
                                                                                          ้
                                     ิ
              ี
                                                                                                     ้
                  ้
                  ้
                   ้
                                               ิ
                                             ี
            เรยนรด้ว่ยต์นเองจากคืว่าม้ผู้ด้พลาด้ที่�เกด้ประโยชิน์ (productive failure) อย่างม้ากที่ส่ด้ก่อนที่�จะได้รับ
                                                                                                ี
                                                                                         ุ
                                                                                        ี
                                                                                        �
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56