Page 31 - 0018
P. 31

23


                                                                                                          ่
               จำเป็นต้องให้ความสำคัญกับการกระจายการเข้าถึงน้ำดื่มสะอาดอย่างทั่วถึง เนื่องจากเป็นสิทธิของประชาชนทีพึง
               ได้รับจากรัฐ





























                                                                         ึ
                                     ภาพที่ 2-9 แสดงร้อยละของครังเรือนที่เข้าถงบริการพื้นฐานฯ
                         ที่มา : ข้อมูลจากการสำรวจภาวะเศรษฐกิจสังคมของครัวเรือน ประมวลผลโดยกองพัฒนาข้อมูลและตัวชร้วัดสังคม สศช.


                       ครัวเรือนยากจนส่วนใหญ่เข้าถึงบริการพื้นฐาน (ไฟฟ้าภายในบ้าน น้ำประปาภายในบ้าน

               โทรศัพท์เคลื่อนที่) โดยในปี 2563 ครัวเรือนยากจนร้อยละ 99.01 เข้าถึงไฟฟ้าภายในบ้าน เพิ่มขึ้นจากร้อยละ
               98.80 ในปีก่อนหน้า รวมทั้งการเข้าถึงน้ำประปาภายในบ้าน (ร้อยละ 89.20 และโทรศัพท์เคลื่อนที่ (ร้อยละ
                                              ิ
                                                                                              ิ่
               66.77) ครัวเรือนยากจนมีการเข้าถึงอนเทอร์เน็ตร้อยละ 45.37 และมีการเข้าถึง คอมพิวเตอร์เพมขึ้นเล็กน้อยจาก
               ร้อยละ 0.71 ในปี 2562 เป็นร้อยละ 0.80 ในปี 2563 แต่ยังเป็นสัดส่วนที่น้อยมาก เมื่อเทียบกับครัวเรือนไม่
               ยากจน ส่วนหนึ่งอาจเกิดจากคอมพิวเตอร์มีราคาสูง และมีความจำเป็นในการใช้งานน้อย ครัวเรือนยากจน

               ส่วนมากจึงมีโทรศัพท์เคลื่อนที่ (สมาร์ทโฟน) ในสัดส่วนที่สูงกว่า (ร้อยละ 66.77) ทั้งนี้ แม้ครัวเรือนยากจนจะ
               เข้าถึงโทรศัพท์เคลื่อนที่ แต่ครัวเรือนยากจนกว่าครึ่งหนึ่งยังเข้าไม่ถึงอินเทอร์เน็ต ภาครัฐจำเป็นต้องกระจายโอกาส

               การเข้าถึงอินเทอร์เน็ต รวมถึงอุปกรณ์การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ โดยเฉพาะครัวเรือนยากจนที่
               อยู่นอกเขตเทศบาลในพื้นที่ห่างไกล


               2.7 งานวิเคราะห์และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
                       ภัทร์ธมณฑ์ เรืองวิทยาวุฒิ (2561) ได้ทำการศึกษาเรื่อง รูปแบบแนวทางงานบริการวิชาการเพื่อตอบสนอง

               ความต้องการของสังคมของมหาวิทยาลัยกลุ่มภาคเหนือตอนล่าง มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการบริหารงาน
               บริการวิชาการเพอตอบสนองความต้องการของสังคมของมหาวิทยาลัยกลุ่มภาคเหนือตอนล่าง 2) สร้างรูปแบบ
                              ื่
                                          ื่
               การบริหารงานบริการวิชาการเพอตอบสนองความต้องการของสังคมของมหาวิทยาลัยกลุ่มภาคเหนือตอนล่าง และ
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36