Page 153 - 001
P. 153

ี
                          นโยบายสาธารณะ: แนวคิดพื้นฐาน ขอโตแยงกระบวนการนโยบาย และระเบียบวิธ           ยศธร ทวีพล
                          Public Policy: Basic Concepts, Policy Process Arguments and Methodology

                          ตารางที่ 5.2 ศักยภาพและประเภทการเปลี่ยนแปลงนโยบาย



                                                                 ประเภทการปฏิสมพันธ  
                                                                              ั
                            การจัดสรรอำนาจ
                                                 ความขัดแยง           การตอรอง          ความรวมมือ
                                                 มีศักยภาพการ         มีศักยภาพการ       มีศักยภาพการ
                                              เปลี่ยนแปลงนโยบาย    เปลี่ยนแปลงนโยบาย   เปลี่ยนแปลงนโยบาย
                              รวมอำนาจ
                                             อยางรวดเร็วในระดับปาน อยางคอยเปนคอยไป  ในระดับต่ำ (คง
                                                    กลาง            ในระดับต่ำถึงปาน        สถานะ)

                                                                         กลาง
                                                 มีศักยภาพการ         มีศักยภาพการ       มีศักยภาพการ


                              กระจายตัว       เปลี่ยนแปลงนโยบาย    เปลี่ยนแปลงนโยบาย   เปลี่ยนแปลงนโยบาย
                                             อยางรวดเร็วในระดับสูง  อยางคอยเปนคอยไป  ในระดับต่ำถึงปาน

                                                                   ในระดับปานกลางถึง    กลาง (คงสถานะ)
                                                                          สูง


                          ที่มา: Adam and Kriesi (2007: 145)


                                 มุมมองการวิเคราะหตามตัวแบบเหตุผลและมุมมองอื่นๆ



                                 นอกเหนือจากมุมมองการวิเคราะหนโยบายเชิงโตแยงและการวิเคราะหนโยบายตามมมมอง
                                                                                                    ุ
                          เครือขายนโยบาย การวิเคราะหนโยบายอาจวิเคราะหตามตัวแบบเหตุผล ซึ่งเปนเครื่องมือการ
                          วิเคราะหนโยบายที่เชื่อในกระบวนการตัดสินใจ โดยวิเคราะหนโยบายอยางเปนเหตุเปนผลอันเปน

                          ประโยชนตอการตัดสินใจนโยบาย รวมถึงการวิเคราะหนโยบายมุมมองอื่นๆ อาทิ การวิเคราะห
                          นโยบายเชิงเลาเรื่อง (narrative policy analysis) เปนการวิเคราะหนโยบายผานการอธิบายดวย

                          เรื่องราว สถานการณและความเปนนามธรรม จากการเขียน ภาษา การเลาเรื่องและการสนทนา ซึ่งถือ
                          วามีเอกลักษณในแงแนวทางและมิติการศึกษา ทำใหการวิเคราะหนโยบายเชิงเลาเรื่องไดรับการ

                          ยอมรับในการวิเคราะหนโยบาย (van Eeten, 2007) นอกจากนั้นการวิเคราะหนโยบายมีเทคนิคอยาง
                          หลากหลาย อาทิ การวิเคราะหนโยบายเปรียบเทียบ (comparative public policy)









                                                                                                              133
   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158