Page 151 - 001
P. 151

ี
                          นโยบายสาธารณะ: แนวคิดพื้นฐาน ขอโตแยงกระบวนการนโยบาย และระเบียบวิธ           ยศธร ทวีพล
                          Public Policy: Basic Concepts, Policy Process Arguments and Methodology

                                                                                                        
                          ระหวางผูเชี่ยวชาญตามที่คิงดอน (Kingdon) พยายามนำเสนอและอยูบนพื้นฐานความเชื่อที่วา
                                                                                 ี
                                                                           
                          นโยบายไมสามารถดำเนินการโดยรัฐบาลเพียงฝายเดียวและตองมีผูมสวนเก่ยวของอยางหลากหลาย
                                                                                      ี
                          การวิเคราะหนโยบายตามมุมมองเครือขายนโยบาย จึงเปนการสะทอนเครือขายความสัมพันธระหวาง
                          ผูมีสวนไดสวนเสีย อาทิ องคกรไมแสวงหาผลกำไร ภาคประชาสังคม องคกรระหวางประเทศหรือ
                          องคกรภาคเอกชน โดยจะนำมาซึ่งการวิเคราะหนโยบายอยางครอบคลุม มุมมองการวิเคราะห

                          เครือขายนโยบายจึงมีจุดเดนในการตระหนักตอผูเกี่ยวของระดับรัฐและมิใชรัฐ (Demir, 2021: 71-72)



                          ภาพที่ 5.8 มุมมองเครือขายนโยบาย


                             บริบทขามชาติ
                                                                                            ศักยภาพการ

                                                                 การจัดสรรอำนาจ          เปลี่ยนแปลงนโยบาย
                             บริบทระดับชาติ      โครงสราง
                                              เครือขายนโยบาย   ประเภทการปฏิสัมพันธ        ประเภทการ

                                                                                         เปลี่ยนแปลงนโยบาย
                            บริบทเฉพาะ


                          ที่มา: Adam, and Kriesi (2007: 148)


                                 ภาพที่ 5.8 แสดงใหเห็นวาการวิเคราะหนโยบายสาธารณะ ประกอบดวยบริบทขามชาต  ิ

                          บริบทระดับชาติและบริบทเฉพาะ สำหรับบริบทขามชาต เปรียบเสมือนการวิเคราะหการสรางนโยบาย
                                                                      ิ
                                                                                                       
                          ระดับมหภาค โดยเพิ่มโอกาสการวิเคราะหและลดขอจำกัดการกลาวถึงเฉพาะปจจัยที่มีสวนเกี่ยวของ
                          กับนโยบายภายใตบริบทภายในประเทศ จึงทำใหบริบทการวิเคราะหกวางขวาง นาเชื่อถือและเปนเหต ุ
                          เปนผล สวนบริบทระดับชาติ ถือเปนจุดเชื่อมโยงสูการจัดสรรอำนาจและสามารถวิเคราะหหรือ

                          ประเมินการปฏิสัมพันธภายในระบบยอยนโยบายตามหลักการเสียงขางมากของการปกครองแบบ
                          ประชาธิปไตยที่มีการแขงขันกันอยางตอเน่อง สวนบริบทเฉพาะ เปนบริบทอธิบายรูปแบบเครือขาย
                                                            ื
                          นโยบายภายในระบบยอย เนนการระบุตัวแปรในสถานการณตางๆ และตระหนักตอเหตุผลการ

                                             ื
                                                                                               
                          เปลี่ยนแปลงภายในเครอขายนโยบาย มุมมองเครือขายนโยบายจงแสดงใหเห็นโครงสรางเครือขาย
                                                                              ึ
                          การเชื่อมโยงสูผลลัพธและประเภทการเปลี่ยนแปลงตามเปาหมายการวิเคราะหนโยบาย







                                                                                                              131
   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156