Page 154 - 001
P. 154

ี
                          นโยบายสาธารณะ: แนวคิดพื้นฐาน ขอโตแยงกระบวนการนโยบาย และระเบียบวิธ           ยศธร ทวีพล
                          Public Policy: Basic Concepts, Policy Process Arguments and Methodology

                                                                        
                                 ถือวาเปนการวิเคราะหนโยบายที่มีวัตถุประสงคเพื่อพิจารณาลักษณะนโยบายระหวางรัฐ
                                                                                                       ั
                          ระหวางชวงเวลา ที่ตั้ง หลักการ กฎระเบียบ สภาพแวดลอม และระหวางความสัมพันธของรัฐกบ
                          บริบทศึกษา ความสัมพันธระหวางรูปแบบการปกครองรฐแบบตางๆ การศึกษาเปรยบเทียบปญหา
                                                                                             ี
                                                                       ั
                          สาธารณะ การพิจารณาภาคสวนเกี่ยวกับสาธารณะและนโยบาย ซึ่งศึกษาโดยตั้งคำถามเกี่ยวกับความ
                                                                                          ี
                                                                                                 
                                                  ั
                          แตกตาง การใหความสำคัญกบปจจัยภายใน ตัวแปรทางเศรษฐกิจและสังคมที่มอิทธิพลตอนโยบาย
                          การวิเคราะหนโยบายเปรียบเทียบจึงศึกษาเปรียบเทียบนโยบายสาธารณะกับบริบทตางๆ อยาง
                          หลากหลายและเปนระบบ ซึ่งสามารถโตแยงการอธิบายนโยบายทั่วไป จากอิทธิพลของการวิเคราะหที่

                          เปนการศึกษาอยางครอบคลุมและสามารถเขาถึงองคความรูใหม (Lodge, 2007)


                          5.6 แนวทางการวิเคราะหนโยบาย



                                 ภาพรวม



                                 ภาพรวมของการวิเคราะหนโยบายสาธารณะมีหลากหลายแนวทาง ดังตารางที่ 5.3 เกี่ยวของ
                          กับกระบวนการกำหนดนโยบาย สาเหตุผลกระทบของนโยบาย ปทัสถานของนโยบายสาธารณะ ซง
                                                                                                        ึ่
                                                                          ี
                          จำแนกออกเปนสายของวิวัฒนาการทางรัฐศาสตร ทฤษฎระบบและเศรษฐศาสตร คณิตศาสตร
                                                                    
                                                                                                       ั
                          วิทยาการจัดการ ตามลำดับ โดยแตละแนวทางมีวัตถุประสงคแตกตางกัน อาทิ แนวทางเกี่ยวกบ
                          กระบวนการกำหนดนโยบาย มีวัตถุประสงคในการวิเคราะหนโยบายเพื่อพรรณนาและอธิบายขั้นตอน
                          ตางๆ ของกระบวนการนโยบาย สวนแนวทางสาเหตุ ผลกระทบนโยบาย เปนการพรรณนาและอธิบาย

                          ความสัมพันธเชิงสาเหตุ ในขณะที่แนวทางปทัสถานของนโยบายสาธารณะ มีวัตถุประสงคเพื่อ
                                                                                         ิ
                          เสนอแนะและปรับปรุงแกไขประเด็นปญหานโยบายสาธารณะ โดยปราศจากอคตหรือคานิยมสวนตัว
                                 นอกจากนั้นในแงสมมุติฐานเบื้องตน แนวทางเกี่ยวกับกระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ

                          เกี่ยวของกับปจจัยทางการเมือง สวนแนวทางสาเหต ผลกระทบของนโยบาย เกี่ยวของกับการ
                                                                      ุ
                          ปฏิสัมพันธระหวางสวนประกอบตางๆ ของนโยบายและสภาพแวดลอม ในขณะที่แนวทางปทัสถาน

                          ของนโยบายเปนการกำหนดนโยบายบนพื้นฐานความเปนเหตุเปนผล สวนมิติสุดทาย มิติระเบียบวิธี
                          ศึกษาและการวิจัย แนวทางกระบวนการกำหนดนโยบายสัมพันธกับการศึกษาเชิงคุณภาพ โดยเฉพาะ

                          กรณีศึกษาเชิงลึก สวนแนวทางสาเหตุ ผลกระทบของนโยบาย เกี่ยวของกับการศึกษาเชิงปริมาณ และ
                          สุดทายแนวทางปทัสถานของนโยบายเชื่อมโยงกับการศึกษาเชิงปริมาณและการวิจัยปฏิบัติการ

                          อยางไรก็ตามนอกเหนือจากหลักการของแตละแนวทางดังกลาว มีแนวทางอื่นๆ ดังกลาวตอไปนี้






                                                                                                              134
   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159