Page 152 - 001
P. 152
ี
นโยบายสาธารณะ: แนวคิดพื้นฐาน ขอโตแยงกระบวนการนโยบาย และระเบียบวิธ ยศธร ทวีพล
Public Policy: Basic Concepts, Policy Process Arguments and Methodology
การวิเคราะหการปฏิสัมพันธทางเครือขาย
มุมมองการวิเคราะหเครือขายนโยบายสนใจการปฏิสัมพันธภายในเครือขาย ซึ่งเปนปจจัย
กำหนดรูปแบบการเปลี่ยนแปลงนโยบาย จำแนกเปนการจัดสรรอำนาจแบบรวมอำนาจหรือกระจาย
อำนาจ ดังตารางที่ 5.2 โดยหากเปนการรวมอำนาจ ประเภทการปฏิสัมพันธภายในเครือขายนโยบาย
มีลักษณะเปนความขัดแยง ทำใหการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ มีศักยภาพการเปลี่ยนแปลงอยาง
รวดเร็วในระดับปานกลาง ในขณะที่หากการปฏิสัมพันธเปนการตอรอง การขับเคลื่อนนโยบายม ี
ศักยภาพการเปลี่ยนแปลงอยางคอยเปนคอยไปในระดับต่ำถึงปานกลาง และหากประเภทการ
ั
ปฏิสัมพนธเปนแบบความรวมมอ การขับเคลื่อนนโยบายมีศักยภาพการเปลี่ยนแปลงต่ำ (คงสถานะ)
ื
นอกจากนั้นหากการจัดสรรอำนาจเปนแบบการกระจายตัวและมีประเภทการปฏิสัมพันธเปนแบบ
ความขัดแยง ลักษณะดังกลาวเชื่อวาการขับเคลื่อนนโยบายมีศักยภาพเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว
ั
นอกจากน้นหากเปนประเภทการปฏิสัมพนธแบบเจรจาตอรอง การขับเคลื่อนนโยบายมการ
ี
ั
ั
เปลี่ยนแปลงอยางคอยเปนคอยไประดับปานกลางถึงสูง และสุดทายหากเปนประเภทการปฏิสัมพนธ
ื
แบบความรวมมอ การขับเคลื่อนนโยบายมีการเปลี่ยนแปลงต่ำถึงปานกลาง (คงสถานะ) ระดับความ
เขมขนภายในเครือขายนโยบายจึงเปนตัวแปรการกำหนดการเปลี่ยนแปลงนโยบาย ซึ่งหากอำนาจ
ี
ั
กระจายตัวสูง ทำใหงายตอการสรางพันธมิตร ในทางตรงกนขามหากมการกระจายตัวของอำนาจต่ำ
ยอมมีการผูกขาดนโยบายและยากแกการเปลี่ยนแปลงนโยบาย (Adam and Kriesi, 2007: 145)
มุมมองเครือขายนโยบายจงเปนการวิเคราะหนโยบายเพื่อสรางนโยบายสาธารณะใหม โดย
ึ
ตระหนักตอการปฏิสัมพันธระหวางผูมีสวนไดสวนเสียกับนโยบายลักษณะเครือขายที่มีผูมีสวน
เกี่ยวของอยางหลากหลาย โดยเชื่อวาความสัมพันธของผูมีสวนเกี่ยวของภายในเครือขายลักษณะตางๆ
นำมาสูศักยภาพการเปลี่ยนแปลงนโยบายและประเภทการเปลี่ยนแปลงนโยบายที่แตกตางกัน ลักษณะ
มุมมองเครือขายจึงเปรียบเสมือนเครื่องมือการวิเคราะหสำเร็จรูป ซึ่งสามารถคาดคะเนผลลัพธของการ
วิเคราะหนโยบายและนำมาสูการเปลี่ยนแปลงนโยบายสาธารณะไดในระดับหนึ่ง โดยสามารถแสดงให
เห็นทิศทางการเปลี่ยนแปลงนโยบายและการจัดการกับนโยบายสาธารณะอันเกิดจากผลการวิเคราะห
132