Page 79 - 2564
P. 79
ตารางที่ 4.2-01 โครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ (Information Infrastructure)
ส่วนหลัก การดำเนินการ
1) ความมั่นคงด้านกายภาพ มีการควบคุมสิทธิ์การเข้าถึงห้องควบคุมเครื่องแม่ข่าย มีระบบกล้องวงจรปิดคอยตรวจสอบ มีแผน
(Physical security) และระบบการเตรียมความพร้อมรับมือสำหรับภาวะฉุกเฉินเพื่อให้มั่นใจได้ว่าระบบข้อมูลและ
สารสนเทศ มีความปลอดภัย มีความพร้อมใช้งานอย่างต่อเนื่อง มีระบบแจ้งเตือนไปยังผู้ดูแลระบบ
เมื่อเกิดปัญหา มีเครื่องสำรองไฟฟ้า (UPS) และเครื่องปั่นไฟฟ้าเมื่อมีเหตุไฟฟ้าดับมั่นใจได้ว่าเครื่อง
แม่ข่าย (Server) ระบบสารสนเทศต่าง ๆ ยังเปิดบริการได้ปกติ ระบบมีการสำรองข้อมูลทุกวัน
และนำไปจัดเก็บไว้ยังเครื่องแม่ข่ายภายนอกสำนักฯ เพื่อป้องกันความเสี่ยงหากเกิดภาวะฉุกเฉิน
ทำให้มั่นใจได้ว่าข้อมูลไม่สูญหาย
2) ด้านความมั่นคงและ มีระบบรักษาความปลอดภัย มีผู้รับผิดชอบและดูแลชัดเจน มีเครื่องแม่ข่ายจัดเก็บข้อมูลและ
ปลอดภัย (Cybersecurity) สารสนเทศ มีการกำหนดสิทธิ์ในการเข้าใช้ มีการสำรองข้อมูลอัตโนมัติทุกวัน มีการตรวจสอบ
ความพร้อมเครื่องแม่ข่าย มีการสำรองซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ที่สำคัญ เพื่อพร้อมใช้งานเมื่อมีการ
เปลี่ยนแปลงหรือชำรุด มีระบบแจ้งเตือนผู้ดูแลระบบอัตโนมัติเมื่อเกิดความผิดปกติของระบบ
เพื่อให้ผู้ดูแลระบบสามารถแก้ปัญหาได้ทันท ี
3) ระบบการเชื่อมต่อ มีระบบการเชื่อมต่อผ่านระบบสายและไร้สาย ครอบคลุมทั้งพื้นที่ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่
(Network Connection) และพื้นที่ให้บริการทั้งภายในและภายนอกอาคาร มีการยืนยันตัวตนด้วย PSU Passport ก่อนเข้า
ใช้งานเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของมหาวิทยาลัยทุกครั้ง
4) การเข้าถึงและใช้งาน มีการยืนยันตัวตนด้วย PSU Passport ก่อนเข้าใช้งานเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของมหาวิทยาลัย
เครือข่าย (Service and มีการให้ความยินยอมตามนโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Network Access) (PDPA) ก่อนการเข้าใช้งานระบบสารสนเทศต่าง ๆ
5) การเข้าใช้งานสารสนเทศ มีการกำหนดสิทธิ์การเข้าถึงข้อมูลและสารสนเทศ มีการยืนยันตัวตนด้วย PSU Passport
(Information Access) บางระบบฐานข้อมูลมีการกำหนดสิทธิ์การเข้าถึงจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ตภายนอกมหาวิทยาลัย
ต้องผ่านระบบ Virtual Private Network (VPN) ของมหาวิทยาลัย
ตารางที่ 4.2-02 ระบบสารสนเทศ (Information Services)
ส่วนหลัก การดำเนินการ
1) ระบบสนับสนุน ระบบสารสนเทศสนับสนุนผู้ใช้บริการ นักศึกษา อาจารย์ นักวิจัย บุคลากร และบุคคลทั่วไป
ผู้ใช้บริการ โดยแต่ละระบบมีผู้รับผิดชอบกำกับดูแล ตรวจสอบความถูกต้อง มีการปรับปรุงข้อมูลให้มีความ
ถูกต้องน่าเชื่อถือ มีช่องทางให้ผู้ใช้เสนอแนะเพื่อปรับปรุงระบบ มีการประเมินความพึงพอใจการ
ใช้งานระบบ มีการกำหนดสิทธิ์การเข้าถึงข้อมูล มีระบบ One Search เป็นเครื่องมือช่วยอำนวย
ความสะดวกให้กับผู้ใช้บริการในการค้นหาสารสนเทศต่าง ๆ ผ่านช่องทางเดียว โดยระบบ
สนับสนุนผู้ใช้บริการ มีทั้งหมด 103 ระบบ แบ่งเป็นกลุ่มได้ดังนี้ 1) ระบบฐานข้อมูลออนไลน์
37 ระบบ 2) In-house Database 13 ระบบ 3) Library Service 32 ระบบ 4) เว็บไซต์งาน
ต่าง ๆ 15 ระบบ 5) Mobile app 6 ระบบ
2) ระบบสนับสนุนการ ระบบสนับสนุนการปฏิบัติงาน มีผู้รับผิดชอบ กำกับดูแล ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล มีการ
ปฏิบัติงาน ประเมินความพึงพอใจการใช้งานระบบเพื่อนำข้อมูลที่ได้ไปปรับปรุงระบบให้มีประสิทธิภาพมาก
ขึ้น โดยมีระบบ Smart Office เป็นระบบสารสนเทศหลักที่ช่วยสนับสนุนการปฏิบัติงานด้าน
ต่าง ๆ ให้ง่ายและสะดวกกับการปฏิบัติงานมากขึ้น และมีระบบสารสนเทศสนับสนุนการ
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 63