Page 17 - 2558
P. 17
(3) แหล่งข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ
ี่
แหล่งข้อมูลเชิงเปรียบเทียบทส าคัญและเป็นทางการของส านักวิทยบริการ ได้แก่ ส านักหอสมุด มหาวิทยาลัย
ทักษิณ และศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ส่วนแหล่งข้อมูลเชิงเปรียบเทียบที่ไม่เป็น
ทางการ ได้แก่ ข่ายงานห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค (PULINET)
ข. บริบทเชิงกลยุทธ์
ส านักวิทยบริการได้ก าหนดความท้าทายเชิงกลยุทธ์และความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ตามบริบท 4 ด้าน (1) บริการ
สารสนเทศและสื่อการเรียนรู้ (2) การปฏิบัติการและการจัดการ (3) ความรับผิดชอบต่อสังคม และ (4) บุคลากร
โดยรายละเอียดดังภาพประกอบที่ OP2-02
ิ
บริบท ความท้าทายเชงกลยุทธ์ ความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์
้
การบริการสารสนเทศและสื่อการ 1. ความพร้อมใช้งานดานเทคโนโลยี (ระบบเครือข่าย ระบบ 1. องค์ความรู้และสื่อที่เกี่ยวกับข้อมูลจังหวัดชายแดน
เรียนรู้ สารสนเทศ และช่องทางการเข้าถึงสารสนเทศ) ภาคใต ้
2. เทคโนโลยีใหม่ที่เป็นทางเลือกของผู้ใช้บริการและการพัฒนา 2. ระบบบริการสารสนเทศจากห้องสมุด 5 วิทยาเขต
ภารกิจหลักและภารกิจสนับสนุน
ั
การปฏิบัติการและการจัดการ การพัฒนาระบบบริหารจดการองค์กรใหมีมาตรฐานระดับชาต ิ บุคลากรมีความเชี่ยวชาญในการจดการองค์ความรู้และ
ั
้
ั
ฐานขอมูลจงหวัดภาคใต้ (ผลิตสื่อ จัดระบบและบริการ)
้
ความรับผิดชอบต่อสังคม การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของชุมชน แหล่งสารสนเทศหลักของชุมชนและความเชี่ยวชาญของ
บุคลากร
ิ
บุคลากร 1. การพัฒนาบุคลากรให้มีแนวคิดนวัตกรรม 1. จิตบริการของบุคลากร (จตบริการ การสร้างความ
2. บุคลากรสามารถพัฒนาตนเองให้ทันต่อความเปลี่ยนแปลงต่อ ประทับใจ ความรู้และประสบการณ์)
ความต้องการของผู้ใช้บริการ 2. ผู้ให้ความร่วมมือในการพัฒนาความเชี่ยวชาญและ
3. การพัฒนาบุคลากรให้มีภาวะผู้น าและความเป็นมืออาชีพ แนวคิดนวัตกรรม
บริหารจัดการขอมูลส าคัญเพื่อ จัดท าระบบส านักงานอัตโนมัติ (ระบบการเงิน, ระบบพัสด, ระบบ
้
ุ
ประกอบการตัดสินใจเชิงบริหาร บริหารโครงการ, ระบบบริหารทรัพยากรมนุษย์, ระบบจัดการ
เอกสาร)
ภาพประกอบที่ OP2-02 บริบทเชิงกลยุทธ์
ค. ระบบการปรับปรุงผลการด าเนินการ
แนวทางในการปรับปรุงผลการด าเนินงานของส านักวิทยบริการเกิดขึ้นจากการน า (1) ผลการประเมินรายบุคคลตาม
ระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (TOR Online) และ
ระบบประเมินสมรรถนะ (Competency Online) และ
(2) ผลการประเมินการด าเนินงานของหน่วยงานตาม
เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (TQA Framework) จาก
การตรวจประเมินคุณภาพภายในมหาวิทยาลัยประจ าปี
เป็นฐานคิดในการปรับปรุงการปฏิบัติงานในรอบปี
ถัดไป ท าการวิเคราะห์ผลการประเมิน วิเคราะห์กลยุทธ์
ก าหนดเป้าหมาย ถ่ายทอดสู่ระดับปฏิบัติการ และมี
การทบทวน ตรวจสอบ ทุก 3 เดือนในวาระการประชม
ุ
หัวหน้ากลุ่มงาน โดยด าเนินการปรับปรุงผลการ
ด าเนินงานตามกระบวนการ PDCA การด าเนินการ
ดังกล่าว ส านักวิทยบริการได้ท าควบคู่ไปกับการพัฒนาบุคลากรโดยสนับสนุนให้เข้ารับการฝึกอบรม สัมมนา ใน
หลักสูตรที่สอดคล้องกับการปรับปรุงผลการด าเนินงานและส่งเสริมให้สร้างองค์ความรู้จากการปฏิบัติงานประจ าเพื่อ
น าไปสู่การพัฒนาเป็นแนวปฏิบัติที่ดี (Good Practices) ในการเรียนรู้ระดับองค์กร (ภาพประกอบที่ OP2-03)
รายงานวิธีการและผลการด าเนินงานตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ 2558 ส านักวิทยบริการ ม.อ.ปัตตานี
9