Page 57 - TQA2557
P. 57

การวัด การวิเคราะห และการจดการความรู         43
                                                                                           ั


                                                          
                                            
                  ั
                            
                                         
                                                                                         ู
                                                                                            ํ
                                                                                                        
                                                                   
                                                                    ี
                                                                    ่
               นวตกรรมตอไป ขอมูลเสียงของลูกคา ขอรองเรียนของลูกคาและความรูทไดรับการปรับปรุงตางๆ จะถกนามารวบรวมไวเปน
                                                              
               ความรูในองคกรบนเวบไซต OAR Innovation และนําไปใชเปนขอมูลประกอบการวางแผนกลยุทธในปถดไป
                                                          
                                                                                          ั
                                                                                      
                               ็
               (4) ความคลองตัวของการวัดผล
                                                                                               ั
                       ผูบริหารกําหนดนโยบายการทบทวนผลการดําเนินงานที่สําคัญตามรอบเวลาทแตกตางกน  เปนรายวน รายสัปดาห  
                                                                                      ั
                                                                               ี่
                                                                                                        
               รายเดือนและรายไตรมาส ตามภาพประกอบที่ 4.2-3 รวมทั้งขอมูลการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญทงจากภายในและภายนอกองคกร
                                                                                  ั้
               ที่สงผลกระทบตอองคกรตามรูปที่ 2.1-3 (ปจจัยประกอบการวางแผนกลยุทธ) มาพิจารณา ทําใหสามารถระบุโอกาสและความ
                                                                                 ั
                                                                                           ิ
                                                            ั
               ทาทายใหมๆ เพื่อนํามาใชในการปรับเปลี่ยนกลยุทธ แผนปฏิบติงาน เปาประสงค และตัววดผลการดําเนนการขององคกร ซึง ่
                                                                   
                                                                                                     
                                                                                       ้
                           
                                                                                       ี
               หากมีความจําเปนทีมบริหารจะตัดสินใจปรับเปลี่ยนแผนและตัวชี้วัดไดทันทวงที   และถายทอดตัวชวัดไปยังบุคลากรผานการ
                                                                               
               ประชุมบุคลากร

               ข. การวิเคราะหและทบทวนผลการดําเนินการ
                           
                                                                                                    ี
                                                    ิ
                                                                                          ํ
                            ิ
                       สํานักวทยบริการ ทบทวนผลการดําเนนงานและขีดความสามารถขององคกร โดยมีการกาหนดเรื่องททบทวน
                                                                                                    ่
                                                                 ี
                                                                                              ี
               ผูเกี่ยวของ การนําไปใช การวิเคราะหและความถ ตามรูปท 4.1-3 ทมบริหารทบทวนผลการดําเนินการและขดความสามารถ
                                                          ี่
                                                   ี่
               ขององคกรเปนรายไตรมาสและรายเดือน กรณีที่พบวาไมบรรลุเปาหมาย ผูรับผิดชอบตัวชี้วัดนั้นๆ จะเปนผูวิเคราะหหาสาเหตุ
                     ่
                                                                                        ี
                                                                    ํ
               ดวยเครืองมือตาง ๆ พรอมจัดทําแผนการปรับปรุงภายใน 3 เดือนและนามารายงานในครั้งตอไป ทมบริหารจะประเมินและ
                                                         ุ
                                                      ํ
               ปรับปรุงระบบการทบทวนผลการดําเนินการเปนประจาทกปในระหวางการวางแผนกลยุทธ  
                                                                 
                                ุ
                                                                                             ํ
                                                                                            ี
                       ในการประชมทบทวนของทมบริหาร จะมีการติดตามเปาหมายความสําเร็จเทยบกบเปาหมายท่กาหนดไว มีการนา ํ
                                                                                  ั
                                                               
                                                                               ี
                                          ี
                                                                  
                                     ึ
                        ู
                        
                                                                                      ั
                                                                                   ี
               ขอมูลของคแขง/คูเทยบมาศกษาเปรียบเทียบ ติดตามความกาวหนาของแผนปฏิบัติการทสําคญ หากมีความจําเปนตอง
                               ี
                                                                                   ่
               ปรับเปลี่ยนจะดําเนินการเปลี่ยนแปลงแผนงาน ผลการดําเนินการจะถูกรายงานในที่ประชุมซึ่งประชุมทุก 3 เดือน

               ค. การปรบปรงผลการดําเนินการ
                          ุ
                       ั
                  (1) การแลกเปลี่ยนเรียนรูวิธีปฏิบัติที่เปนเลิศ
                                                                                                 
                       สํานักวทยบริการ มีการนําผลการทบทวนผลการดําเนินการ ผลการประเมินคุณภาพภายในองคกรและขอเสนอแนะ
                            ิ
                                                                                      ํ
                     
                                                                                                  ี
               ของผูใชบริการและผูมีสวนไดสวนเสีย มาวิเคราะหหาโอกาสปรับปรุงและนําสูกระบวนการจัดทาแผนกลยุทธท่สําคัญตาม
                                                                                                    ่
                                                     
                           ่
                                             ั
                           ี
                                     ั
                                     ้
                                               ุ
               ภาพประกอบท 2.2-1  รวมทงทบทวนวตถประสงคและปรับปรุง KPIs  ใหเหมาะสม และจัดทําแผนบริหารความเสียง โดย
               จัดลําดับความสําคัญที่มีผลกระทบตอผูใชบริการ
                       ทประชมหวหนากลุมงานไดนาผลการการทบทวนการดําเนินงานมาวเคราะหหาวิธการปฏิบติท่ดีหรือท่เปนเลิศและ
                                                                        ิ
                                  
                                                                                                  
                                                                                                 ี
                                                                                         ั
                            ุ
                                                                              
                              ั
                        ี
                                            ํ
                                                                                           ี
                                     
                                                                                  ี
                        ่
                                                                                 ั้
                                                                                                         ื่
               นําสูการแลกเปลี่ยนเรียนรูวิธีปฏิบัติที่เปนเลิศ นอกจากนี้มีการสรางกลุมแลกเปลี่ยนเรียนรูทงภายในและภายนอกองคกร เพอ
                           ่
                                                                                 ื
                 ํ
                                                                                                      ่
               ทาการแลกเปลียน นาความรูท่ไดมาปรับปรุงกระบวนการทางานอยางสม่าเสมอและตอเน่อง และสามารถนําความรูทไดมา
                                                                                                      ี
                                                           ํ
                               ํ
                                                                     ํ
                                      ี
                                                                                                     
                      ั
                                               ั
               พฒนานวตกรรม ตามนโยบาย "1 ฝาย 1 นวตกรรม"
                 ั
                  (2) ผลการดําเนินการในอนาคต
                                                                                               
                            ิ
                                                                                    ั
                                                                            ื
                                                         ิ
                                                                         ้
                       สํานักวทยบริการ มีการคาดการณผลการดําเนนงานตามแผนระยะสัน คอแผนปฏิบติการประจําป แผนระยะยาว
                                             ี
                           
               คอแผนกลยุทธระยะ 5  ป และการเทยบเคยงกบคูเทยบ และจัดทําเปนการคาดการณผลการดําเนินการในอนาคตใน
                                    
                 ื
                                                     ั
                                                  ี
                                                         ี
                          ่
               ภาพประกอบท 2.2-1
                          ี
                  (3) การปรับปรุงอยางตอเนื่องและการสรางนวัตกรรม
                       สํานักวิทยบริการ นําผลการทบทวนการดําเนินการเปรียบเทียบกับคาเปาหมายและแหลงขอมูลเชิงเปรียบเทียบ
                                        ื่
               ตามที่ระบุไวในโครงรางองคกร เพอวิเคราะหชองวางและจัดลําดับความสําคัญเรื่องที่ตองนําไปปรับปรุงโดยพิจารณาจาก
                                      ี่
               น้ําหนักตัวชี้วัดและผลกระทบทสําคัญ นําเสนอทีมบริหารเพื่อตัดสินใจเลือกแผนปรับปรุงตามลําดับความสําคัญ เพื่อหาทาง
               แกไขปรับปรุงใหดีขึ้นอยางตอเนื่องผานกระบวนการปรับปรุงกระบวนการทํางานตามรูปที่ 6.2-3 (OAR-PDCA) และถายทอด
               ผานชองทางการสื่อสารตามภาพประกอบที่ 1.1-1

               Office of Academic Resources: OAR            สํานักวิทยบริการ
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62