Page 6 - 2561 -2565
P. 6
เปาประสงคที่ 3 ดานการจัดพื้นที่รวมในการสรางสรรคความรู (OAR Maker Space)
กลยุทธที่
1) จัดสภาพแวดลอมการเรียนรูแบบใหม ใหเปนศูนยการเรียนรู (Learning Center) แหง
ศตวรรษที่ 21 (สมาชิกอยากได-สถานที่สะดวกสบาย/ แบงโซนใหชัดเจน โซนเงียบ โซนทาน
อาหารได)
2) พัฒนาพื้นที่สรางสรรคแกผูใชบริการเพอการพัฒนาทงดานศิลปศาสตร และวิทยาศาสตรและ
ั้
ื่
ิ
เทคโนโลยี นวัตกรรม ฯลฯ เพื่อรวม/จุดประกาย/แบงปน สรางความคดสรางสรรคและ
เรียนรูรวมกัน
3) พัฒนาพื้นที่เพอการแสดงนวัตกรรม และผลงานตาง ๆ ของบุคลากรและผูใชบริการ
ื่
ของหนวยงานทงภายในและภายนอก
้
ั
ั
ื
4) พัฒนาไปสูการเปนองคกรสรางสรรคความรู โดยสรางเครือขายความรวมมอกบชุมชน และ
หนวยงานอื่น ๆ
ตัวชี้วัดหลัก
1) มีการพัฒนาสภาพแวดลอมการเรียนรูใหมเพมขึ้น
ิ่
ื่
2) มีพื้นที่สรางสรรคเพอการพัฒนา แกผูใชบริการเพิ่มขึ้น
3) เปนองคกรแหงการเรียนรูที่เปนความรวมมือกับชุมชนและหนวยงานตาง ๆ
4) ระดับความพึงพอใจของผูใชบริการไมนอยกวารอยละ 85
5) ระดับความผูกพันของผูใชบริการไมนอยกวารอยละ 80
ิ
6) จํานวนกิจกรรมเชิงรุกเพื่อการสงเสริมการใชบริการ Maker Space (3 กจกรรมตอป)
7) จํานวนผูใชบริการ Maker Space ไมนอยกวาเปนรอยละ 5 ของผูใชบริการหองสมุด
ี่
เปาประสงคที่ 4 ดานการสนับสนุนชุมชนทสําคัญ CSR
กลยุทธ
1) วางแผนเพื่อการพัฒนาสูการบริการวิชาการเพอการสนับสนุนชุมชนที่สําคัญของสํานักวิทยบริการ
ื่
(การกําหนดชุมชน การสํารวจ การศึกษาความตองการ การจัดกิจกรรมและการประเมินผลการ
ดําเนินงาน)
ื่
2) สรางเครือขายความรวมมอกบหนวยงานตางๆ เพอการพัฒนาชุมชน โดยใชสมรรถนะหลักของ
ื
ั
องคกร และความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพของบุคลากร ทั้งดานการบริการสารสนเทศและสื่อการ
เรียนรู
3) สรางกลไกในการแสวงหางบประมาณเพอการบริการวิชาการแกชุมชน
ื่
4) รวมพัฒนาสมรรถนะดานการอานและการเรียนรูแกนักเรียนในโรงเรียนในเขตพื้นที่ชุมชนของ
ั
ื่
สํานักวิทยบริการ เพอการพัฒนาคน และพฒนาประเทศ
5) สนับสนุน สงเสริม พัฒนา สังคมผูสูงวัย ใหมีสมรรถนะดานการเรียนรูและกาวทันตอเทคโนโลยี
หนา 6