Page 377 - การศึกษาวิเคราะห์หนังสืออะกีดะฮฺ อันนาญีน ฟี อิลมฺ อุศูล อัดดีน ของชัยคฺ ซัยนฺ อัลอาบิดีน เบ็น มุฮัมมัด อัลฟะฏอนีย์
P. 377
355
อย่างล้นเหลือ และสิ่งที่ปรารถนา ไม่ว่าจะเป็นการสรรเสริญหรือการติเตียน (Zainuddin al-Rāziy,
1999 : 329) .
1
อุละมาอ์ได้ให้ความหมายคําว่า “ฮะวา” (٣ٖٛ) เชิงวิชาการดังนี้
1. การเอียงจิตใจและอารมณ์ต่อตัณหา („Abd al-Rahmān, 1408 : 1/287 ;
al-Hulutiy, n.d : 7/291).
2. การเอียงจิตใจต่อสิ่งหนึ่งที่ปรารถนาโดยมิได้คํานึงถึงบทบัญญัติ (al-„Anjariy,
2
1419 : 7/233) .
3. ความปรารถนาของจิตใจต่อทุกสิ่งที่ไม่มีหลักฐาน (al-Sam„āniy, 1997 : 2/56).
การอธิบายของผู้แต่งข้างต้นไม่ต่างกับการอธิบายของอิบนุ อัลก็อยยิม (Ἰbn
al-Qaiyim, 1983 : 22) ที่อธิบายว่า ฮะวา หมายถึง การเอียงจิตใจต่อสิ่งหนึ่งที่ปรารถนา แต่โดยส่วน
ใหญ่จะใช้กับความปรารถนาที่ถูกตําหนิ
์
อัลลอฮ ได้ตักเตือนและสั่งห้ามไม่ให้ปฏิบัติตามฮะวา เพราะมันจะนําตัวไปสู่
ความหลงผิด ดังที่พระองค์ตรัสว่า :
ﭼ ﰈﰇ ﰆ ﰅ ﰄ ﰃ ﰂ ﰁ ﭽ
ةيأ 26 ) نم ضعب : ص ةروس (
ความว่า : “และอย่าได้ปฏิบัติตามอารมณ์ใฝ่ต่ํา มันจะทําให้เจ้าหลงไปจาก
ทางของอัลลอฮ”
์
(สูเราะฮ์ศอด : ส่วนหนึ่งจากอายะฮ์ 26)
3
อัลลอฮ์ ทรงห้ามบ่าวของพระองค์มิให้ปฏิบัติตามฮะวา เพราะการปฏิบัติตาม
ฮะวาเป็นต้นเหตุทําให้หลงทางจากแนวทางอันเที่ยงตรงของอัลลอฮ์ (al-Shanqīṭiy, 1995: 6/339).
4.13.2.7 ขออัลลอฮ์ทรงประทานเหตุผลหรือหลักฐาน (ฮุจญะฮ) ให้กับเราในเมื่อถูก
์
ถามไม่ว่าบนโลกนี้หรือโลกหน้า
4
ผู้แต่งได้กล่าวขอเกี่ยวกับเรื่องนี้ ว่า
نئ اجت ضؾ وٝتن زؾ ٢َان ٘ذس ٔنا ٢َان ٔنا ٣أ ٣برمم ٛٗب للها ٔنا فصاٖ ٛنا ٕار "
لمارر ٛتأ اْٝر لمارر ٣أ ارأاسم لًطَ ٜٔ٬غصٚأ زؾصر ٢َان ػتأ ٍا٪ع ؼتار وٝتن نيعٜ
ٔهػٓمم ؼٝغضب ٘ذس ٢ٓعَ ٕار ِٝكتغَ ينتت زؾ ٛتا ضؾنح ؽراؾر ٠ضؿع ١َاٝق ٣صاٖ ٛتا صٛبق
1
ดูเพิ่มเติม (Ἰbn Manzūr, 1414 : 15/373 ; al-Zāwiy, 1963 : 643).
2 ดูเพิ่มเติม (Ἰbn al-Qaiyim, 1983 : 22 ; Uthmān Jum„ah, 1996 : 208 ; Abū Bakr al-Jazā‟iriy, 2003 : 1/555).
3
ดูอายะฮ์เริ่องเดียวกันในสูเราะฮ์อัลเกาะศ็อศ อายะฮ์ 50 และยังปรากฏในฮะดีษ (บันทึกโดย „Ἀhmad, 2001 : 19773) ชุอีบ
อัลอัรนะอูฏ กล่าวว่า ผู้รายงานฮะดีษทั้งหมดเป็นที่เชื่อถือและเศาะฮีฮ (Ἀhmad bin Hanbal, 2001 : 33/18).
4 Tuan Mināl, n.d. : 139.