Page 16 - 049
P. 16

2


                                                                                            ื
                                                                                               ่
                                                                                               ึ
                                                                              ิ
                                ึ
                       แต่ยังรวมถงข้อมูลข่าวสาร การจูงใจ ผู้ร่วมงาน การพัฒนาให้สมาชกในองค์กรนับถอซงกันและกัน
                                                                                                ิ
                                                                                          ี่
                                                                                    ็
                                                                                            ี
                                                                           ิ
                                                                                             ิ
                                                                   ุ
                       การประสานกิจกรรมและความพยายามต่างๆ ของกล่ม ซงผู้บรหารต้องเปนผู้น าทมอทธพลต่อ
                                                                      ่
                                                                      ึ
                        ั
                       ปจเจกบคคลในแง่ของการใช้แนวทางในการด าเนนการ โดยเร่มจากการพัฒนาสมรรถนะท     ี่
                                                                          ิ
                              ุ
                                                                ิ
                                                                           ิ
                                                                                ี่
                                      ็
                                                                ิ
                                                           ิ
                                                   ุ
                             ิ
                                                                                  ี
                       ตัวผู้บรหารก่อนเปนอันดับแรก (จมพล หนมพานช, 2547) ผู้บรหารทมสมรรถนะจะส่งผลให้
                                     ิ
                                                              ุ
                         ู
                                ี
                                                                                              ึ
                                                                                                         ิ
                                       ิ
                       ครผู้สอนมประสทธภาพและส่งผลให้ผู้เรยนมคณภาพ (ส านักงานคณะกรรมการการศกษาแห่งชาต,
                                                         ี
                                                             ี
                                                      ึ
                                            ิ
                               ึ
                               ่
                                                            ็
                       2543) อนงสมรรถนะผู้บรหารสถานศกษา เปนการปฏบัตงานตามบทบาทหน้าททอยู่ในภาระงาน
                                                                       ิ
                                                                    ิ
                                                                                         ี่
                                                                                           ี่
                                                              ึ
                       เพื่อให้ประสบผลส าเรจ (McClelland, 1999) ซงต้องอาศัยทั้งความร ทักษะ ความสามารถและ
                                                                               ้
                                                                               ู
                                                             ่
                                         ็
                       คณลักษณะอนๆ (ส านักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรอน, 2548) จากผลการวิจัยของ ชวนพิศ
                        ุ
                                  ื่
                                                                       ื
                                                                                ึ
                           ิ
                                                                                               ี่
                        ิ
                       สทธ์ธาดา (2552) พบว่า องค์ประกอบสมรรถนะของผู้บรหารสถานศกษาขั้นพื้นฐานทม  ี
                                                                      ิ
                              ิ
                                                                                              ุ
                                                                                        ี่
                                                                 ี
                            ิ
                       ประสทธผลนั้น ประกอบด้วยสมรรถนะด้านวิชาชพ ด้านภาวะผู้น า ด้านหน้าท ด้านบคคล และด้าน
                                                          ิ
                                                                                       ิ
                                                                          ึ
                                                               ็
                                                                             ี่
                                                                          ่
                                                                                                 ึ
                       การบังคับบัญชา ดังนั้นสมรรถนะของผู้บรหารเปนกลยุทธ์หนงทส าคัญในบรหารสถานศกษาให้
                                                                             ี
                       ประสบความส าเรจ อาจกล่าวได้ว่า “สถานศกษาใดมผู้บรหารทมสมรรถนะ นั่นหมายความว่า
                                                                      ิ
                                      ็
                                                                   ี
                                                           ึ
                                                                           ี่
                                               ี
                                             ี่
                             ึ
                                     ี
                       สถานศกษานั้นมผู้บรหารทมคณลักษณะและความสามารถทเหมาะสมตามมาตรฐาน สามารถน า
                                                                         ี่
                                        ิ
                                                ุ
                                                                                        ิ
                                       ิ
                                                           ็
                                                                                 ี
                                                                   ้
                       สถานศกษาให้ด าเนนการประสบความส าเรจบรรลเปาหมายได้อย่างมประสทธภาพ”
                                                                                      ิ
                             ึ
                                                                 ุ
                                                                        ็
                                                                                                      ึ
                                                                     ึ
                                        ั
                                                                                            ิ
                                 การแก้ปญหาความขัดแย้งในสถานศกษา จงเปนภารกิจส าคัญของผู้บรหารสถานศกษา
                                                                ึ
                                                 ั
                       ทจะต้องด าเนนการแก้ไขด้วยปญญา ความสขุมรอบคอบ (Crawford และ Bodine, 1996) และต้องม ี
                                                           ุ
                        ี่
                                  ิ
                       สมรรถนะในการจัดการกับความขัดแย้ง ซงสอดคล้องกับกรอบแนวคดกระบวนการการบรหาร
                                                          ่
                                                                                                  ิ
                                                                                 ิ
                                                          ึ
                                             ิ
                                   ู
                       จัดการองค์กรส่ความเปนเลศ ของ Baldrige Education Criteria for Performance Excellence
                                          ็
                                                                                        ิ
                                                                                          ิ
                                                                                   ี
                                        ี่
                                                                                                     ิ
                       Framework (2004) ทได้แสดงถงระบบการบรหารจัดการสถานศกษาทมประสทธภาพของผู้บรหาร
                                                             ิ
                                                                                 ี่
                                                                            ึ
                                                 ึ
                        ่
                                 ิ
                                                 ้
                                                 ู
                                                                 ็
                                                                                  ิ
                                                                                            ึ
                        ึ
                       ซงต้องด าเนนการโดยใช้ความร ความสามารถ ทเปนสมรรถนะของผู้บรหารสถานศกษา โดยเฉพาะ
                                                               ี่
                             ึ
                       สถานศกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ทมการจัดการศกษาในเขตพัฒนาพิเศษจังหวัดชายแดน
                                                                   ึ
                                                        ี่
                                                         ี
                                      ี่
                                                                                ี
                                                                         ์
                                                      ื่
                                                                               ี
                                                     ี่
                       ภาคใต้ ในสภาพทแตกต่างจากพื้นทอน ทั้งในด้านอัตลักษณ ด้านวิถชวิต ภาษา ศาสนา และ
                                                                                     ี
                       วัฒนธรรมทมการจัดการศกษาในรปแบบทหลากหลาย ดังน้จงจ าเปนต้องมเครองมอช้วัดและ
                                                                                            ื
                                                                                              ี
                                                                                        ื่
                                                                         ี
                                                           ี่
                                 ี่
                                  ี
                                                                          ึ
                                             ึ
                                                    ู
                                                                               ็
                                                   ิ
                                                                   ี่
                       รปแบบการพัฒนาสรรถนะการบรหารความขัดแย้งทเหมาะสม
                        ู
                                           ึ
                                                      ู
                                          ี
                                 งานวิจัยน้จงม่งน าเสนอรปแบบการพัฒนาสมรรถนะการบรหารความขัดแย้ง ส าหรบ
                                                                                   ิ
                                             ุ
                                                                                                       ั
                          ิ
                                    ึ
                                                                      ึ
                       ผู้บรหารสถานศกษา สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศกษาขั้นพื้นฐาน ในจังหวัดชายแดนภาคใต้
                        ี่
                                            ็
                                     ี
                                                                      ั
                       ทเหมาะสมและมความเปนไปได้ในการน าไปใช้เพื่อแก้ปญหาสภาพการณดังกล่าว อันส่งผลต่อ
                                                                                    ์
                                           ึ
                                                                                               ็
                                                      ู
                                 ุ
                                                                              ี่
                                                                      ี
                                                                     ี่
                       การพัฒนาคณภาพการศกษา เพื่อเข้าส่โลกของอนาคตทมความเปลยนแปลงอย่างรวดเรวและม     ี
                                                                              ี่
                                                    ี
                       ความหลากหลายแตกต่างได้อย่างมประสทธภาพ รวมทั้งสามารถทจะอยู่ร่วมกันกับผู้อนได้อย่างม ี
                                                                                              ื่
                                                            ิ
                                                         ิ
                             ุ
                       ความสข
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21