Page 128 - 049
P. 128
114
์
ุ
ิ
ิ
ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ (2539) กล่าวว่า ความขัดแย้งเชงชาตพันธ เกิดจากภาวะทันสมัย
(Modernization) ของโลกยุคปจจบัน อันประกอบด้วยปจจัยส าคัญ คอ พัฒนาการทางเทคโนโลยีทม ี
ั
ั
ื
ี่
ุ
ี่
ี่
ุ
ิ
ความเปลยนแปลงอย่างรวดเรว และมขอบข่ายทกว้างขวาง ตลอดจนภาวะททกส่งกลายเปนสนค้า
็
ี
ี่
็
ิ
ี
ื
ได้หมดไม่ว่าจะเปนร่างกาย ศักด์ศร หรออากาศ ภาวะทันสมัยดังกล่าวน้เผชญกับปฏกิรยาส าคัญ 4
ี
็
ิ
ิ
ิ
ิ
อย่าง คอ
ื
1. การโต้ภาวะทันสมัย (Counter-Modernization) เช่น กระแสฟนคนทางศาสนาทั้ง
ื
ื้
ิ
ี
ิ
ิ
พุทธในไทยและมาเลเซย กระแสชาตนยมฮนดในอนเดย
ิ
ู
ี
2. การเร่งภาวะทันสมัย (Hyper-Modernization) โดยรฐเผด็จการอ านาจทไม่ร้งรอทจะ
ี่
ี่
ั
ั
็
ใช้ความรนแรงเพื่อเร่งเปลยนตัวเอง ให้เปนสังคมอตสาหกรรม การเร่งภาวะทันสมัยท าให้สังคม
ุ
ี่
ุ
ิ
ุ
ิ
ื่
ี
เกิดภาวะคับข้อง มความเหลอมล ้ามาก สถตอัตวินบาตกรรม การหย่าราง และความรนแรงใน
ิ
้
ิ
ุ
็
์
ิ
ิ
ู
ึ
ิ
ครอบครวมสงข้น ผู้คนเร่มหันหาสายสัมพันธดั้งเดมทั้งในเชงศาสนาและความเปนชมชนท้องถ่น
ั
ี
ึ
ุ
ั
ยิ่งรฐ “เร่ง” ภาวะทันสมัยเข้มข้นเคร่งครด การ “โต้” ยิ่งทวีความรนแรงข้น
ั
3. การทอนภาวะทันสมัย (De-Modernization) ด้วยพลังท้าทายระบบต่างๆ อย่าง
ุ
ขบวนการพิทักษ์สทธสตร ขบวนการอนรกษ์ส่งแวดล้อม อดมการณฟนฟูภูมปญญาประเพณ ี
ิ
ิ
ั
ั
ิ
ุ
์
ิ
ื้
ี
พื้นบ้าน
ี่
4. การพ้นภาวะทันสมัย (Post-Modernization) ทเกิดในวงวิชาการ ทวิพากษ์ความร ู ้
ี่
็
ุ
์
ี
ี่
ั
ุ
ุ
ี
ทฤษฎ และอดมการณทั้งหลายทครอบง าอยู่ในปจจบัน โดยช้ให้เหนอ านาจทซกซ่อนอยู่ว่าท างาน
ี่
ั
ิ
ิ
ื่
้
ในลักษณะใดบ้าง ท าให้เหนว่าความรเหล่าน้มได้เหนอกว่าความรภูมปญญาชนดอน ซงท าให้
ู
ี
็
ื
้
ู
่
ึ
ิ
การทอนภาวะสมัยใหม่ยิ่งเข้มแข็งข้น โดยหันกลับไปหาอ านาจและความรของกล่มดั้งเดมของตน
ิ
ุ
ู
้
ึ
็
ิ
ื
ิ
ิ
ุ
ุ
์
ื้
์
ิ
ึ
์
ึ
รวมทั้งส านกเชงชาตพันธก็เร่มแจ่มชัดข้นกลายเปน “การฟนคนของสายสัมพันธชาตพันธ” (Ethnic
ู
็
Resurgence) ทั่วโลก และถกมองว่าเปนมรดกอันตราย ณ จดเปลยนแห่งศตวรรษ ผ่านกรอบ
ี่
ุ
กระบวนทัศน์ “การปะทะทางอารยธรรม” (Clash of Civilizations) ทเข้ามาแทนทกระบวนทัศน์
ี่
ี่
สงครามเย็น