Page 127 - 049
P. 127
113
์
ั
ความหลากหลายทางชาติพันธุในพหุสงคม
ุ
ิ
ึ
็
ึ
ั
์
ิ
การศกษาความเปนชาตพันธในเชงวิชาการ ได้หันมาให้ความส าคัญมากข้นกับปญหา
ี่
ื่
ี่
ึ
ิ
ี่
้
การเปลยนแปลง ทเกิดข้นภายใต้บรบทและเงอนไขทแตกต่างกัน พรอมๆกับท าความเข้าใจกับ
ู
พลวัตของกล่มชาตพันธในการต่อสและปรบตัวต่อ แรงกดดันต่างๆในสภาพความเปนจรงของ
ั
้
์
ุ
ิ
ุ
ิ
็
ึ
่
ึ
ี่
ิ
ี
ี่
ิ
ช่วงเวลาหนงๆ โดยให้ความสนใจต่อการเปลยนแปลงทเกิดข้นกับ สทธ ความมตัวตน และ
ุ
ี
ภูมปญญาของทกๆ กล่มชาตพันธอย่างเท่าเทยมกัน
ุ
ิ
์
ั
ุ
ิ
ี
ิ
ึ
ี่
เพื่อให้ผลของการศกษานั้นมพลังอย่างแท้จรง ในการเสนอทางเลอกทมลักษณะ
ื
ี
ื่
ู
ุ
้
หลากหลาย ให้กับการเคลอนไหวทางการเมองของกล่มชาตพันธ ทจะน าไปส่การสรางสรรค์
ื
ิ
์
ี่
ุ
ุ
ุ
พหสังคม และการมส่วนร่วมอย่างเสมอภาคกับทกกล่มชาตพันธในพหสังคมนั้น เพราะความเปน
ุ
ี
ิ
์
ุ
ุ
็
ั
ิ
ิ
ุ
ิ
ั
ี
จรงของรฐประชาชาตในปจจบัน ล้วนแล้วแต่มความหลากหลายของชาตพันธทั้งส้น การปฏเสธ
ิ
์
ุ
ิ
ี
ั
ึ
และการไม่ยอมรบความจรงในข้อน้ นับวันก็จะเพิ่มความขัดแย้งและรนแรงข้นในสังคมโดยไม่
ุ
ิ
ิ
ุ
ั
จ าเปน ปจจบันเกือบทกประเทศในโลกน้จะมประชากรทประกอบด้วยกล่มชาตพันธอย่าง
ี
ุ
์
ุ
ุ
ี
็
ี่
่
ึ
ิ
ี
หลากหลาย เนองจากมประวัตศาสตรของความสัมพันธ ซงท าให้เกิดการแลกเปลยนและ
ี่
์
ื่
์
ุ
การผสมผสานกันทางวัฒนธรรมกันมานาน แต่การอยู่ร่วมกันของกล่มชนชาตก็ไม่ได้ก่อให้เกิด
ิ
ความขัดแย้งเสมอไป หากไม่มความพยายามเอาเปรยบซงกันและกัน ในทางตรงกันข้าม กลับพบว่า
ี
ี
่
ึ
ี
ี่
ในบางสังคมจะมการผสมผสานกันทางวัฒนธรรมได้อย่างด ขณะทในอกหลายสังคมก็อยู่ร่วมกันได้
ี
ี
แม้ว่าจะคงความแตกต่างของแต่ละชาตพันธเอาไว้ ทั้งน้ก็เพราะว่าสังคมนั้นๆ ได้เคารพสทธของ
ิ
ิ
์
ิ
ี
ุ
ี่
ิ
ิ
ความแตกต่างทางชาตพันธอย่างเท่าเทยมกัน ทจรงแล้วสังคมหนงสามารถเคารพในความแตกต่าง
ี
ุ
์
ึ
่
ุ
ิ
ได้อย่างหลากหลาย นอกจากชาตพันธแล้ว ก็อาจจะเคารพความแตกต่างในทางวัฒนธรรมของ
์
ท้องถ่น ความแตกต่างในความร และความแตกต่างในความเชอเปนต้น ในทางวิชาการจะเรยก
ิ
ู
็
้
ี
ื่
ุ
ี่
ื่
ิ
ึ
สังคมทเคารพในความแตกต่างอย่างหลากหลายน้ว่าพหสังคม ซงมักจะเกิดข้นได้อย่างแท้จรงเมอ
ึ
ี
่
็
ุ
์
ึ
สังคมนั้นๆได้พัฒนาความเปน ประชาธปไตยมากข้น (อานันท์ กาญจนพันธ, 2539)
ิ