Page 63 - 032
P. 63
43
ี
ี่
ุ
ี
ี
ี่
้
้
ยังคงมแต่เปาหมายทได้ก าหนดขึ้นไว้ มนษย์นั้นมเปาหมายชวิตทส าคัญ คือตอบสนองความ
ต้องการของตนให้ ได้ ค าว่าความต้องการน้ในทางจตวิทยาใช้ค าใหม่ ๆ ว่า ความต้องการจ าเปน
ิ
็
ี
(Need) แทนในทางการเมองใช้ค าว่า ความต้องการในการก าหนดนโยบาย เพราะนโยบายจะต้อง
ื
็
ึ
็
สนองความต้องการของประชาชนเปนส าคัญ ความต้องการจ าเปนหมายถง บรรดาความจ าเปนต่าง
็
ิ
ี
ๆ ที่มนษย์จะต้องม และเมอขาดเสยส่งหนงส่งนั้น ๆแล้ว จะเกิดภาวะไม่ปกติหรอไม่สมดลขึ้นมาได้
ี
ื่
ุ
ึ
่
ุ
ื
ิ
ความต้องการจ า เปนของมนษย์แบ่งออกเปนความต้องการจ าเปนทางกาย (Biological Needs) ความ
็
็
ุ
็
็
็
ต้องการจ าเปนทางใจ (Psychological Needs) และความต้องการจ าเปนทางสังคม (Social Needs)
ี่
ึ
ิ
ประสาท อศรปรดา (2523) อธบายว่า ความต้องการ หมายถง สภาวะทเกิดจาก
ี
ิ
ุ
ความไม่สมดลทั้งทางร่างกายและจตใจ ลักษณะของความไม่สมดลดังกล่าวเกิดจากการทความ
ุ
ิ
ี่
ต้องการของคนเรามักไม่ได้รับการตอบสนองอย่างสมบูรณ เนองจากเมอได้รบการตอบสนองหนง
ึ
ื่
ื่
ั
์
่
ก็จะเกิดความต้องการมากขึ้นไปอกระดับหนงความต้องการ (Needs) สภาพทไม่สมดลของมนษย์
ุ
ี่
ี
ุ
ึ
่
เช่นว่าน้เองที่ก่อ เกิดแรงผลักดันให้บุคคลแสดงพฤติกรรมเพื่อสร้างความสมดลให้ตัวเอง เช่น คนท ี่
ี
ุ
ิ
ู
ั
ี่
ี่
ิ
ู
ื่
ึ
ื
ื
ร้สกเหนอยล้าในการนอน หรอนั่งพัก หรอเปลยนบรรยากาศ เปลยนอรยาบท ดหนังฟงเพลง คนท ี่
ั
ี
ิ
็
ถกท้งให้อยู่คนเดยว เกิดความต้องการความรก ความสนใจจากผู้อน เปนแรงผลักดันให้คน ๆนั้น
ื่
ู
ั
ั
็
ึ
กระท าการบางอย่างเพื่อให้ได้รบความรก ความสนใจ เปนต้น โดยรวมแล้ว ความต้องการจงม ี
ิ
ิ
อทธพลมากต่อพฤติกรรม
ิ
ทั้งน้ ความต้องการในแต่ละคนมหลายประเภท นักจิตวิทยาได้อธบายเรองความ
ี
ี
ื่
็
ุ
ต้องการไว้อย่างหลากหลาย แต่โดยทั่วไปแล้วเราอาจแบ่งความต้องการพื้นฐานของมนษย์ได้เปน 2
ี
ประเภท ดังน้
1. ความต้องการทางกาย (Physical Needs) ความต้องการตามธรรมชาติของ
็
ี
ร่างกาย เช่น ต้องการกินอาหาร หายใจ ขับถ่ายของเสย การเคลอนไหว และพักผ่อน เปนต้น ความ
ื่
ุ
ต้องการทางกายท าให้เกิดแรงจงใจให้บคคลกระท าการเพื่อตอบสนองความต้องการดังกล่าว เรยก
ี
ู
แรงจูงใจที่เกิดจากความต้องการทางกายน้ว่า แรงจูงใจทางชวภาพหรอทางสรระ
ี
ี
ื
ี
ื
2. ความต้องการทางสังคมหรอความต้องการทางจตใจ (Social or Psychological
ิ
็
็
ี
Needs) เปนความต้องการที่เกิดจากการเรยนรทางสังคม เช่น ความมั่นคง ความปลอดภัยการเปนท ี่
้
ู
ยอมรบในสังคม ต้องการความรก ต้องการอสระภาพ ความส าเรจในชวิต และต าแหน่งทางสังคม
ั
็
ี
ิ
ั
็
็
ื
ุ
เปนต้น ความต้องการทางสังคม หรอจิตใจ เปนปจจัยกระตุ้นให้มนษย์แสดงพฤติกรรม เพื่อให้ได้มา
ั
ึ
ี
ู
ซงความต้องการและการกระท าเพื่อสนองความต้องการดังกล่าวเรยกว่า แรงจงใจทางสังคม (Social
่
Motives)