Page 37 - 025
P. 37

37







                                         ี
                       พระราชบัญญติโรงเรยนเอกชน เพื่อให้สอดคล้องกับชื่อ ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน
                                  ั
                                                                                ั
                                                                                      ี
                       ซึ่งใช้มาจนถึงปัจจุบันนี้ ดังนั้นเพื่อให้สอดคล้องกับพระราชบัญญติโรงเรยนเอกชน พ.ศ.  2525
                                                ิ
                                                                                                ิ
                                                                            ี
                                    ์
                           ี
                       โรงเรยนราษฎรสอนศาสนาอสลาม จึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น โรงเรยนเอกชนสอนศาสนาอสลาม ในปี
                       พ.ศ. 2526 (ส านักพัฒนาการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เขตการศึกษา 2,2542 :85)
                                   ี
                                                                        ี
                                                       ิ
                                                                                          ั
                                                                                                 ี
                              โรงเรยนเอกชนสอนศาสนาอสลามจัดเป็นโรงเรยนตามพระราชบัญญติโรงเรยนเอกชน
                       พ.ศ. 2525 ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะ คือ
                              1)  โรงเรยนเอกชนตามมาตรา  15(1)  เป็นโรงเรยนที่สอนวิชาศาสนาควบคู่กับวิชาสามัญ
                                      ี
                                                                       ี
                                                                                    ิ
                                                                ี
                       ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งโรงเรยนเอกชนสอนศาสนาอสลามตามมาตรา  15  (1)
                       แบ่งย่อยได้อก  2  ลักษณะ คือ โรงเรยนเอกชนสอนศาสนาอสลามประเภทบรหารโดยสมาคมหรอ
                                 ี
                                                                                        ิ
                                                     ี
                                                                         ิ
                                                                                                        ื
                                                                 ุ
                       มูลนิธิ ซึ่งเป็นองค์บุคคลนิติบุคคล ทางราชการอดหนุนงบประมาณเป็นค่าใช้จ่ายรายหัว  100
                                                                                     ู
                                        ี
                       เปอรเซ็นต์ ซึ่งโรงเรยนลักษณะดังกล่าว ทางราชการจะถอนข้าราชการครที่ไปช่วยสอนวิชาสามัญ
                           ์
                                                             ู
                                              ุ
                                                                                     ี
                       ออก เนื่องจากได้รบการอดหนุนไปจ้างครโดยเฉพาะแล้ว หากโรงเรยนมีความจ าเป็นต้องมี
                                       ั
                                  ู
                       ข้าราชการครที่ทางราชการส่งไปช่วยสอน จะต้องคืนเงินจ านวนเท่ากับวุฒิการศึกษาขั้นต้นของ
                                                                                ี
                                                                                                     ิ
                       ข้าราชการคนดังกล่าวให้แก่ทางราชการ และลักษณะที่  2  คือ โรงเรยนเอกชนสอนศาสนาอสลาม
                       ประเภทบุคคลเป็นผู้รบใบอนุญาต ซึ่งทางราชการจะอดหนุนงบประมาณค่าใช้จ่ายรายหัว
                                                                         ุ
                                           ั
                                      ี
                                                                                         ู
                       เช่นเดียวกับโรงเรยนเอกชนสามัญทั่วไป แต่ทางราชการจะส่งข้าราชการครส่วนหนึ่งสอนวิชา
                       สามัญปฏิบัติการสอนร่วมกับครูที่โรงเรียนจ้างสอน
                                                          ิ
                                                                                                       ี
                              2)  โรงเรยนเอกชนสอนศาสนาอสลาม ตามมาตรา  15(2)  แห่งพระราชบัญญติโรงเรยน
                                                                                                 ั
                                      ี
                                                                               ิ
                       เอกชน พ.ศ.  2525  ซึ่งส่วนหนึ่งจัดการเรยนการสอนทางอสลามศึกษาตามหลักสูตรของ
                                                               ี
                                                 ี
                       กระทรวงศึกษาธิการ และอกส่วนหนึ่งจัดการเรยนการสอนวิชาสามัญตามหลักสูตรของ
                                                                   ี
                                                                   ้
                                                                                                       ู้
                                                                                                    ี
                       กระทรวงศึกษาธิการควบคู่ไปด้วย แต่สภาพความพรอมทั้งบุคลากรและระบบการจัดการเรยนรยัง
                       ไม่เข้าเกณฑ์ของกระทรวงศึกษาธิการที่จะยกระดับสู่การเป็นโรงเรยนตามมาตรา  15  (1)  แห่ง
                                                                                ี
                       พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. 2525
                                             ี
                                                                  ิ
                              สรปได้ว่า โรงเรยนเอกชนสอนศาสนาอสลามมีการเปลี่ยนแปลงจากปอเนาะมาเป็น
                                ุ
                                                                                       ี
                       โรงเรียนเรียนราษฎร์สอนศาสนาอิสลาม และมีการเปลี่ยนแปลงจนเป็นโรงเรยนเอกชนสอนศาสนา
                       อสลามในปัจจุบัน  มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการศึกษาของเยาวชนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เพิ่ม
                        ิ
                       ก าลังคนที่มีความรู้ ความสามารถเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจและการปกครอง
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42