Page 35 - 025
P. 35
35
ั
มั่นคงปลอดภัยของประเทศชาติได้ จึงตราพระราชบัญญตินี้ขึ้น แต่เมื่อพิจารณาสภาพของปอเนาะ
ั
์
ี
ตามพระราชบัญญติโรงเรยนราษฎร พ.ศ. 2461 ฉบับนี้แล้ว พบว่า เป็นโรงเรยนที่ตั้งผิดตาม
ี
พระราชบัญญติ แต่เนื่องจากปอเนาะมีเป็นจ านวนมากจึงมีการผ่อนผันการประกาศใช้
ั
ี
ั
์
ื
ี
่
ั
ี
พระราชบัญญติโรงเรยนราษฎร พ.ศ. 2461 ส าหรบปอเนาะ โรงเรยนสุเหรา หรอโรงเรยนตามบ้าน
ต่างๆ ในมณฑลปัตตานี เพื่อมิให้ราษฎรเดือนรอนและเกิดความยุ่งยากทางการปกครอง ปลายปี
้
พ.ศ. 2472 เกิดความเปลี่ยนแปลงของการจัดการศึกษาอสลามในปัตตานี คือเกิดการสอนอสลามใน
ิ
ิ
รปแบบของโรงเรยนสอนศาสนาอสลามแทนการเปิดปอเนาะ ซึ่งเป็นแนวคิดของหะยีสุหลง
ิ
ี
ู
์
ี
ี
ั
อบดุลกอเดร โดยโรงเรยนดังกล่าวในชั้นต้นจะใช้ชื่อโรงเรยนว่า “พระยาพิพิธเสนามาตย์ เจ้าเมือง
ยะหริ่ง ปัตตานี ฮ.ศ.1350” แต่เนื่องจากมีปัญหาบางประการ จึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น “มัดราเซาะห์ อลมู
ั
็
ั
้
ิ
อารฟ อลวาฎอนียะฮ์ปัตตานี” ซึ่งก่อสรางเสรจและเรมด าเนินการในปี พ.ศ. 2476 (วินิจ สังขรตน์,
ิ่
ั
2544: 100-102)
์
ี
ต่อมาได้มีการตราพระราชบัญญติโรงเรยนราษฎร พ.ศ. 2497 ขึ้น จะพบว่าปอเนาะเข้าข่าย
ั
ตามมาตรา 20(3) แต่ในพฤตินัยแล้ว ยังไม่ถูกควบคุมโดยพระราชบัญญัติฉบับนี้ เพราะมีทางออกให้
ว่า โรงเรยนการศึกษาพิเศษนี้ รฐมนตรเห็นสมควรจะผ่อนผันไม่ให้ต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญติ
ั
ี
ี
ั
นี้อย่างหนึ่งอย่างใดก็ได้ (วินิจ สังขรัตน์, 2544 : 419)
ี
ั้
การเปลี่ยนแปลงครงส าคัญของปอเนาะที่น าไปสู่การเป็นโรงเรยนเอกชนสอนศาสนา
อิสลามในปัจจุบัน เริ่มจากในสมัยรัฐบาลของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ในปี พ.ศ. 2501 ซึ่งได้ก าหนด
โครงการพัฒนาการศึกษาในส่วนภูมิภาค กระทรวงศึกษาธิการได้รวมจังหวัดที่มีลักษณะความ
เป็นอยู่ของประชาชนและปัญหาการศึกษาคล้ายคลึงเข้าด้วยกัน โดยแบ่งภาคการศึกษาออกเป็น 12
ภาค และจากการแบ่งภาคการศึกษานี้ จังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส และสตูล ซึ่งเป็นจังหวัดที่มี
สภาพทางภูมิศาสนาใกล้ชิดกัน ภาษา วัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีอย่างเดียวกัน และ
ิ
ประชาชนส่วนใหญนับถือศาสนาอสลามเหมือนกัน ได้จัดให้เป็นภาคการศึกษาเดียวกัน คือ ภาค
่
ุ
การศึกษา 2 และมีการจัดตั้งคุรสัมมนาคาร ภาคการศึกษา 2 ขึ้นที่จังหวัดยะลา และ
ั
ุ
ิ
กระทรวงศึกษาธิการได้ออกระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการปรบปรงส่งเสรมปอเนาะ ใน
ภาคศึกษา 2 พ.ศ. 2504 เพื่อการจดทะเบียนปอเนาะ
ุ
ี
ั
ต่อมาในระหว่างปี พ.ศ. 2508-2511 ทางราชการมีโครงการปรบปรงปอเนาะเป็นโรงเรยน
ั
ุ
ราษฎรสอนศาสนาอสลาม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ปอเนาะที่จดทะเบียนแล้วได้ปรบปรงเป็น
์
ิ
์
ั
ิ
ี
โรงเรยนราษฎรสอนศาสนาอสลามตามพระราชบัญญติโรงเรยนราษฎร เพื่อเป็นการจูงใจให้
ี
์
ปอเนาะอื่นๆ ปรับปรุงเป็นโรงเรียนราษฎร์สอนศาสนาอิสลามด้วย เพื่อพัฒนาการศึกษาของเยาวชน
ู้
ที่ศึกษาอยู่ในปอเนาะให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เป็นการเพิ่มก าลังคนที่มีความรเพื่อประโยชน์ทาง