Page 34 - 025
P. 34
34
ั
ั
สอนศาสนาที่ขึ้นชื่อ ดังที่ได้ระบุไว้ในประวัติศาสนา เช่น เชคดาวูด บินอบดุลลอฮ์ อล-ฟะฏอนี
ิ
และเชคมูฮัมมัดเซน อล-ฟะฏอนี ซึ่งได้เขียนต าราวิชาศาสนาและเป็นผู้รเรมแปลต าราศาสนาเป็น
ั
ิ่
ภาษามลายูอักษรยาวี
ิ
อมรอน มะลูลีม (2538 : 37) ได้อธิบายถึงลักษณะของปอเนาะไว้ว่า ปอเนาะจะ
ประกอบด้วยกระท่อมจ านวนหนึ่งใช้เป็นที่อยู่อาศัยของนักเรยน ซึ่งจะพักอยู่ที่นั้นเป็นเวลานาน
ี
ื
ปอเนาะส่วนใหญอยู่ในชนบท ที่ดินที่ใช้ปลูกกระท่อมเป็นของครหรออาจเป็นที่ดินที่คนบรจาค
่
ิ
ู
ี
ี
ู
ื
โดยนักเรยนไม่ต้องเสียค่าเช่า อาคารที่ครใช้สอนเรยกว่า “บาลัยเซาะฮ์” หรอ “บาลัย” มักจะอยู่ติด
ู
กับบ้านของคร ตัวครเรยกว่า “โต๊ะคร” ท าการสอนโดยไม่รบเงินเดือน จึงต้องท างานอย่างอนด้วย
ู
ั
ู
ื่
ี
ื
่
ื่
ี
ู
เช่น ท านา ท าไร หรออาชีพอนๆ ความสัมพันธ์ระหว่างครกับนักเรยนเป็นเหมือนบิดากับบุตร
นักเรียนส่วนใหญ่ที่มาศึกษาอายุระหว่าง 15-25 ปี ซึ่งมีทั้งโสดและแต่งงานแล้ว
ั
ความเปลี่ยนแปลงของปอเนาะเรมต้นขึ้นในปี พ.ศ.2441 โดยรฐมีนโยบายที่ต้องการให้
ิ่
้
่
ประชาชนชาวไทยสามารถอานออกเขียนได้ และสรางความมั่นคงให้กับประเทศ โดย
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระบรมราโชบายขยายการศึกษาสู่หัวเมือง แต่การ
็
ด าเนินการจัดการศึกษาดังกล่าวไม่ประสบความส าเรจในมณฑลปัตตานี เนื่องจากประชากรส่วน
ี
่
ใหญเป็นมุสลิม ในขณะที่โรงเรยนที่จัดตั้งขึ้นอยู่ที่วัดทั้งสิ้น และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาก็
เป็นพระสงฆ์ในพุทธศาสนา ท าให้ประชาชนรสึกไม่ดีต่อการจัดการศึกษาของทางราชการ และ
ู้
่
แหล่งการจัดการศึกษาของมุสลิม คือ ปอเนาะ สุเหรา ตลอดจนบ้านผู้รต่างๆ (วินิจ สังขรตน์, 2544:
ู้
ั
61)
ี
ิ่
ในปี พ.ศ. 2453 เรมมีการสนับสนุนให้จัดการสอนภาษาไทยในโรงเรยนมลายู ซึ่งมีการ
ั
สอนตามสุเหร่าต่างๆ และรวมถึงปอเนาะด้วย ซึ่งปกติใช้ภาษามลายูในการสอน โดยทางรฐบาลส่ง
ี
ครูไปสอน แต่เนื่องจากครูที่ไปสอนนั้นเป็นคนที่นับถือศาสนาพุทธ เพราะคนมุสลิมที่เรยนหนังสือ
ู
้
พอที่จะสามารถเป็นครได้นั้นคงจะยังไม่มี จึงสรางความไม่พอใจให้กับผู้ปกครองของนักเรยน ท า
ี
ให้นโยบายดังกล่าวไม่ประสบความส าเร็จในที่สุด โดยในปี พ.ศ. 2455 มีโรงเรียนมลายูตามสุเหราที่
่
ี
จัดสอนภาษาไทยเพียง 3 แห่ง เท่านั้น คือ โรงเรยนอาเภอโต๊ะโมะ โรงเรยนอาเภอยะรง และ
ี
ั
์
โรงเรียนบางนรา (นภดล โรจนอุดมศาสตร, 2523 :43)
ั
ในปี พ.ศ. 2461 ได้มีการตราพระราชบัญญติโรงเรยนราษฎรขึ้น เพื่อใช้ควบคุมดูแล
ี
์
ี
์
โรงเรยนราษฎรทั่วพระราชอาณาจักร เพราะเดิมโรงเรยนบุคคลหรอโรงเรยนเชลยศักดิ์มีการ
ี
ื
ี
ั
ิ
ด าเนินการสอนที่เป็นอสระ อยู่นอกเหนือจากการควบคุมของรฐ ด้วยเหตุนี้พระบาทสมเด็จพระ
มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเล็งเห็นถึงความเปลี่ยนแปลงในระบอบการเปลี่ยนแปลงการปกครองใน
ี
์
ั่
ต่างประเทศ โรงเรยนราษฎรในขณะนั้นเป็นโรงเรยนจีนและฝรง ซึ่งอาจกระทบกระเทือนต่อความ
ี