Page 36 - 025
P. 36

36







                       เศรษฐกิจและการปกครอง และเพื่อแสดงเจตนาดีของรฐบาลในการที่จะช่วยจัดการศึกษาโดยถูกวิธี
                                                                    ั
                       และสร้างความเข้าใจอันดีงามระหว่างรัฐบาลกับประชาชนในสี่จังหวัดชายแดนภาคใต้

                                                                                         ิ
                                                                              ์
                                                                                                     ั
                              นอกจากนี้ปอเนาะที่ขอจดทะเบียนเป็นโรงเรยนราษฎรสอนศาสนาอสลามจะได้รบการ
                                                                     ี
                                                                              ่
                                          ื่
                                                                                       ื่
                                                                                  ู
                                                                          ู
                       พิจารณาผ่อนผันในเรองของการเป็นเจ้าของ ผู้จัดการ ครใหญ ครและอนๆ ที่ก าหนดไว้ตาม
                       พระราชบัญญติโรงเรยนราษฎรและระเบียบต่างๆ ที่ก าหนดไว้  และจะได้รบการช่วยเหลือทาง
                                         ี
                                   ั
                                                                                         ั
                                                  ์
                                                                                                    ั
                                                                                                        ุ
                       วิชาการ และความช่วยเหลือในด้านการเงิน และในระหว่างการด าเนินการจดทะเบียนและปรบปรง
                                               ์
                                                                                    ั
                       ปอเนาะเป็นโรงเรยนราษฎรสอนศาสนาอสลามนั้น ในปี พ.ศ.  2509  รฐบาลได้มีมติเห็นชอบกับ
                                                          ิ
                                      ี
                       ข้อเสนอแนะของสภาความมั่นคงแห่งชาติ ที่ให้ด าเนินการดังนี้ คือ
                                                                                                        ั
                              1) ห้ามตั้งปอเนาะขึ้นมาใหม่ ถ้ามีผู้ใดฝ่าฝืนให้จังหวัดด าเนินคดีฐานฝ่าฝืนพระราชบัญญติ
                       โรงเรียนราษฎร์ พ.ศ. 2497 ในการนี้หากมีผู้ประสงค์จะขอด าเนินการสอนศาสนาในท านองปอเนาะ
                                                                     ื่
                                                                                                     ู
                       ก็ให้จัดตั้งเป็นโรงเรียนราษฎร์โดยไม่มีการผ่อนผันในเรองคุณสมบัติผู้เป็นเจ้าของ ผู้จัดการ ครใหญ ่
                       และคร  ู
                              2) ปอเนาะที่ตั้งอยู่ก่อนและยังมิได้จดทะเบียน ให้จังหวัดแจ้งเป็นลายลักษณ์อกษร เพื่อให้
                                                                                               ั
                       ผู้รับผิดชอบได้มาจดทะเบียนภายในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2509 เมื่อพ้นก าหนดนี้แล้ว ห้ามมิให้รบ
                                                                                                        ั
                       จดทะเบียนปอเนาะโดยเด็ดขาด
                                                      ั
                                                                                               ์
                              จากการด าเนินการของทางรฐบาล เป็นผลให้ในปี พ.ศ. 2518 โรงเรยนราษฎรสอนศาสนา
                                                                                       ี
                                                                                ั
                                                                                      ี
                                                                                              ์
                        ิ
                                                 ์
                       อสลาม ซึ่งเป็นโรงเรยนราษฎรตามมาตรา 20(3) แห่งพระราชบัญญติโรงเรยนราษฎร พ.ศ. 2497 มี
                                        ี
                       อยู่ 3 ลักษณะ คือ (วินิจ สังขรัตน์, 2544 : 231-233)
                              1) เป็นโรงเรียนที่สอนเฉพาะวิชาศาสนาอย่างเดียว
                              2) เป็นโรงเรียนที่สอนวิชาศาสนาและวิชาสามัญหลักสูตรการศึกษาผู้ใหญ่ระดับ 3
                                         ี
                              3) เป็นโรงเรยนที่สอนวิชาศาสนาและสอนวิชาสามัญหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ
                       ระดับประถมปลาย (ป.5-7) และระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
                                                                                              ็
                              หลังจากที่ปอเนาะได้แปรสภาพเป็นโรงเรยนราษฎรสอนศาสนาอสลามเสรจสิ้น ใน พ.ศ.
                                                                                      ิ
                                                                          ์
                                                                 ี
                                                                      ์
                                                             ี
                       2514  โดยอยู่ในความควบคุมของกองโรงเรยนราษฎร กรมวิสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
                       กฎหมายที่ใช้บังคับและควบคุมโรงเรียนราษฎร์ คือ พรบ.โรงเรียนราษฎร พ.ศ. 2497 ซึ่งใช้บังคับมา
                                                                                    ์
                       ตั้งแต่วันที่ 10 ก.พ. 2497 ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2515 ได้มีประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 216 ให้จัดตั้ง
                       ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน (สช.) ขึ้นในกระทรวงศึกษาธิการ และโอนงานของกอง
                       โรงเรียนราษฎร์ไปเป็นของส านักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน และในปี พ.ศ. 2518 ได้มีการ

                                                         ์
                         ั
                                                                                ี
                                                                                                       ี
                             ุ
                                                                                                 ั
                                                                     ี
                                          ั
                       ปรบปรงพระราชบัญญติโรงเรยนราษฎร พ.ศ  2497  อกครงหนึ่ง เรยกว่า พระราชบัญญติโรงเรยน
                                                ี
                                                                        ั้
                       ราษฎร พ.ศ.  2518  ต่อมาในปี พ.ศ.  2525  จึงได้เปลี่ยนชื่อ พระราชบัญญติโรงเรยนราษฎรเป็น
                             ์
                                                                                       ั
                                                                                                      ์
                                                                                             ี
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41