Page 132 - 025
P. 132

132







                       บทคัดย่อ)  สภาพและปัญหาการด าเนินการวางแผนกลยุทธ์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด
                                                               ี
                       ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุร การเปรยบเทียบสภาพและปัญหาการด าเนินการวางแผนกล
                                                        ี
                       ยุทธ์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน  สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุร  จ าแนกตามต าแหน่ง
                                                                                        ี
                       ของบุคลากร พบว่า โดยภาพรวม ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ที่เป็น
                                                                                                 ี
                       เช่นนี้ อาจเป็นเพราะว่า ผู้บรหารเป็นผู้ก าหนดการด าเนินงานวางแผนกลยุทธ์ของโรงเรยน โดยมี
                                               ิ

                       ครูผู้สอนเป็นผู้ด าเนินงานตามแผนที่ได้วางไว้ ท าให้ผู้บริหารมีสภาพการดาเนินงานวางแผนกลยุทธ์
                       สูงกว่าครูผู้สอน
                                     2.5  การวิเคราะห์เปรยบเทียบสภาพการด าเนินงานวางแผนกลยุทธ์ของโรงเรยน
                                                                                                       ี
                                                       ี
                                        ิ
                       เอกชนสอนศาสนาอสลามในจังหวัดสตูล จ าแนกตามตัวแปรประสบการณ์การท างาน พบว่าการ
                                                                                            ิ
                                                                        ี
                       เปรียบเทียบสภาพการด าเนินงานวางแผนกลยุทธ์ของโรงเรยนเอกชนสอนศาสนาอสลามในจังหวัด
                       สตูล โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า การ
                          ี
                       เตรยมการวางแผน การน าแผนไปสู่การปฏิบัติ แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญที่ระดับ .05  ในขณะที่
                                                 ุ
                       การจัดท าแผนและการปรบปรงแผนไม่มีความแตกต่างกัน ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของทองค า
                                             ั
                                                    ื่
                       วรสาร (2547   :บทคัดย่อ) ศึกษาเรอง สภาพและปัญหาการด าเนินงานตามกระบวนการวางแผนใน
                            ี
                                                                                                      ิ
                                                                                         ิ
                       โรงเรยนมัธยมศึกษา  สังกัดกรมสามัญศึกษาจังหวัดสกลนคร  พบว่า ผู้บรหาร ผู้ช่วยผู้บรหาร
                       หัวหน้าแผนงานและครผู้สอนที่มีประสบการณ์ในการท างานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อสภาพการ
                                           ู
                       ด าเนินงานตามกระบวนการวางแผนโดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ

                                                                                     ื่
                       ขัดแย้งกับงานวิจัยของพิมพ์ ทองทวีวัฒน์ (2542  :  บทคัดย่อ)  ศึกษาเรอง การศึกษาปัญหาการ
                       ปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการประจ าปีของผู้บรหารโรงเรยนประถมศึกษา สังกัดส านักงานการ
                                                                ิ
                                                                         ี
                       ประถมศึกษาจังหวัดพังงา ผู้บริหารโรงเรียนที่มีประสบการณ์ในต าแหน่งต่ ากว่า 10 ปี และตั้งแต่ 10

                       ปีขึ้นไป มีปัญหาการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการประจ าปี โดยภาพรวมและรายขั้นตอนไม่
                       แตกต่างกันและขัดแย้งกับงานวิจัยของกมล จิตบุญ (2543  :  บทคัดย่อ)  ได้ศึกษากระบวนการ

                       วางแผนด าเนินงานตามโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชด ารในโรงเรยนประถมศึกษา
                                                                                    ิ
                                                                                           ี
                                                                                                       ี
                       สังกัดส านักงานการประถมศึกษาจังหวัดน่าน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บรหารโรงเรยน
                                                                                               ิ
                                                    ี
                         ู
                       ครผู้สอน และคณะกรรมการโรงเรยนประถมศึกษา สังกัดส านักงานการประถมศึกษาจังหวัดน่าน
                       จ านวน 204  คน จาก 34  โรงเรยน เครองมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วน
                                                         ื่
                                                   ี
                                                                                             ้
                       ประมาณค่า 5  ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่ารอยละ และการ
                                                                    ิ
                       ทดสอบความแปรปรวน ซึ่งผลการวิจัย พบว่า ผู้บรหารโรงเรยน ครผู้สอน และคณะกรรมการ
                                                                                  ู
                                                                            ี
                       โรงเรยนที่มีประสบการณ์ต่างกัน มีส่วนรวมในกระบวนการวางแผนด าเนินงานตามโครงการ
                            ี
                                                           ่
                                                                                                ิ
                       เกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชด าริไม่แตกต่างกัน ที่เป็นเช่นนี้ อาจเป็นเพราะว่าผู้บรหารและคร ู
   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137