Page 133 - 025
P. 133
133
ที่มีประสบการณ์การท างานต่างกัน มีสภาพการด าเนินการวางแผนกลยุทธ์ที่แตกต่างกัน โดย
ู้
ผู้บริหารและครูที่มีประสบการณ์การท างานมากกว่า มีความรความเข้าใจในการด าเนินงานวางแผน
กลยุทธ์ดีกว่าผู้บริหารและครูที่มีประสบการณ์การท างานน้อยกว่า
2.6 การวิเคราะห์เปรยบเทียบสภาพการด าเนินงานวางแผนกลยุทธ์ของโรงเรยน
ี
ี
ิ
ี
เอกชนสอนศาสนาอสลามในจังหวัดสตูล จ าแนกตามตัวแปรขนาดของโรงเรยน พบว่าการ
ี
เปรียบเทียบสภาพการด าเนินงานวางแผนกลยุทธ์ของโรงเรยนเอกชนสอนศาสนาอสลามในจังหวัด
ิ
สตูล โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ เชาวฤทธิ์ ใจมั่น (2537 :
ื่
บทคัดย่อ) ที่ได้ท าการวิจัยเรอง การศึกษาการปฏิบัติงานตามกระบวนการวางแผนปฏิบัติการ
ประจ าปี ในโรงเรยนประถมศึกษา สังกัดส านักงานการประถมศึกษาจังหวัดขอนแก่น ผลการวิจัย
ี
พบว่า ปัญหาการปฏิบัติงานตามกระบวนการวางแผนปฏิบัติการประจ าปีในโรงเรยนขนาดต่างกัน
ี
ทั้ง 4 ด้าน โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน และสอดคล้องกับงานวิจัยของ พิมพ์ ทองทวีวัฒน์ (2542 : 50
ิ
ื่
– 51) ได้ท าการวิจัยเรอง การศึกษาปัญหาการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการประจ าปีของผู้บรหาร
ี
โรงเรยนประถมศึกษา สังกัดส านักงานการประถมศึกษาจังหวัดพังงา ผลการวิจัย พบว่า ผู้บรหาร
ิ
ี
โรงเรยนประถมศึกษา สังกัดส านักงานการประถมศึกษาจังหวัดพังงา ที่ปฏิบัติงานในโรงเรยน
ี
ประถมศึกษาขนาดเล็ก และขนาดกลาง มีปัญหาการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการประจ าปี โดน
รวมและรายขั้นตอนไม่แตกต่าง และขัดแย้งกับงานวิจัยของนันทพล พงษ์สรอย (2550 : บทคัดย่อ)
สภาพและปัญหาการด าเนินการวางแผนกลยุทธ์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดส านักงานเขต
พื้นที่การศึกษากาญจนบุร การเปรยบเทียบสภาพและปัญหาการด าเนินการวางแผนกลยุทธ์ของ
ี
ี
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุร จ าแนกตามขนาดของ
ี
สถานศึกษา พบว่า โดยภาพรวม ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ที่เป็น
เช่นนี้ อาจเป็นเพราะว่า การใช้กลยุทธ์การด าเนินงานวางแผนกลยุทธ์ของโรงเรยนเอกชนสอน
ี
ศาสนาอิสลามในจังหวัดสตูล สังกัดส านักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดสตูล ทุกโรงเรยนด าเนินการ
ี
ั
์
ตามยุทธศาสตร จุดเน้นของต้นสังกัด โดยมีเป้าหมาย ทิศทางเดียวกัน มีการจัดอบรมผู้รบผิดชอบ
ี
ผู้รับผิดชอบการด าเนินงานวางแผนกลยุทธ์ รวมทั้งจัดท าคู่มือการจัดท าแผนกลยุทธ์ของโรงเรยน จึง
ิ
ท าให้ผู้บรหารและครที่ปฏิบัติหน้าที่ในโรงเรยนที่มีขนาดแตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อสภาพการ
ี
ู
ด าเนินงานวางแผนกลยุทธ์ของโรงเรียน ไม่แตกต่างกัน
ี
ั้
จากผลการวิจัยครงนี้ ชี้ให้เห็นว่า การด าเนินงานวางแผนกลยุทธ์ของโรงเรยนเอกชนสอน
ิ
ี
ศาสนาอสลาม ในจังหวัดสตูล เป็นแนวปฏิบัติในการด าเนินงานวางแผนของแต่ละโรงเรยน ท าให้
ี
โรงเรยนต่างๆ มีสภาพการด าเนินงานวางแผนกลยุทธ์เป็นไปในแนวทางเดียวกัน หากจะให้การ