Page 131 - 025
P. 131

131







                              ในโองการดังกล่าวข้างต้น อลลอฮฺ       ได้แบ่งมนุษย์เป็นสองประเภท คือ ผู้ที่มีความร ู้
                                                      ั
                                       ู้
                       และผู้ที่ไม่มีความร ซึ่งสถานภาพของบุคคลทั้งสองประเภทนี้จะมีความแตกต่างกันทั้งในด้านการ
                       ด ารงชีวิต ความรอบรู้ในเรื่องต่าง ๆ และที่ส าคัญที่สุดการหวั่นเกรงการลงโทษในโลกหน้า และการ

                       หวังความเมตตา การตอบแทนจากพระเจ้าในโลกหน้า ซึ่งจะท าให้มนุษย์ที่มีความรู้ปฏิบัติแต่ความดี

                       ด ารงตนอยู่ในศีลธรรม และห่างไกลจากการปฏิบัติตนที่ต่ าทราม




                                                                                                    :     9 ]  962  [

                                                                         ู้
                                     ความว่า “ พระองค์จะทรงประทานความรให้แก่ผู้ที่พรองค์ทรงประสงค์ และผู้ใด
                                   ู้
                                                  ั
                                                               ั

                       ที่ได้รับความร แน่นอนเขาก็ได้รบความความดีอนมากมาย และไม่มีใครจะราลึก นอกจากบรรดาผู้
                       ที่มีสติปัญญาเท่านั้น”  (อัลกุรอาน 2: 269)
                                     ในความเป็นจรง อลลอฮฺ       ต้องการให้มนุษย์ทุกคนมีความรด้วยการประทาน
                                                     ั
                                                                                           ู้
                                                  ิ
                                                                                          ู้
                                          ์
                                                                                                  ื่
                       จากพระองค์ คือ คัมภีรของพระองค์ และต้องการให้มนุษย์แสวงหาวิชาความรในด้านอน ๆ ด้วย
                                                                                      ู้
                                                                                                ิ
                                                   ั
                                                                   ู้
                                  ู้
                       เพราะความรจะท าให้มนุษย์ได้รบแต่สิ่งที่ดี  ความรท าให้มนุษย์สามารถรว่าอะไรจรง อะไรเท็จ
                       อะไรควรปฏิบัติและไม่ควรปฏิบัติ และท าให้รู้วิธีการในการแสวงหาปัจจัยยังชีพ ดังนั้นผู้ที่มีความร ู้
                                                                                                    ื
                                         ั
                                ั
                       คือผู้ที่ได้รบความดีอนมากมาย ที่เป็นเช่นนี้ อาจเป็นเพราะว่าบุคลากรที่มีการศึกษาสูงหรอต่ า มี
                       สภาพการด าเนินงานวางแผนกลยุทธ์ของโรงเรยนไม่แตกต่างกัน เนื่องมาจาก การด าเนินงาน
                                                                 ี
                       วางแผนไม่ได้ขึ้นอยู่กับวุฒิการศึกษาแต่เพียงอย่างเดี่ยว อาจจะขึ้นอยู่กับประสบการณ์การท างาน
                       และความสามารถในตัวบุคคล
                                                                                                       ี
                                                       ี
                                     2.4  การวิเคราะห์เปรยบเทียบสภาพการด าเนินงานวางแผนกลยุทธ์ของโรงเรยน
                       เอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดสตูล จ าแนกตามตัวแปรต าแหน่ง พบว่าการเปรยบเทียบสภาพ
                                                                                             ี
                                                                               ิ
                       การน าเนินงานวางแผนกลยุทธ์ของโรงเรยนเอกชนสอนศาสนาอสลามในจังหวัดสตูล โดยรวม
                                                           ี
                                                                                                    ี
                       แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01  เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า การเตรยมการ
                                                                               ั
                       วางแผน การจัดท าแผน การน าแผนไปสู่การปฏิบัติ และการปรบปรงแผน แตกต่างกันอย่างมี
                                                                                   ุ
                                                                                                       ื่
                       นัยส าคัญที่ระดับ .01  ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ทองค า วรสาร (2547  :  บทคัดย่อ) ที่วิจัยเรอง
                                                                              ี
                       สภาพและปัญหาการด าเนินงานตามกระบวนการวางแผนในโรงเรยนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญ
                                                                                             ู
                                                       ิ
                       ศึกษา จังหวัดสกลนคร ซึ่งพบว่า ผู้บรหาร ผู้ช่วยผู้บรหาร หัวหน้าแผนงาน และครผู้สอน มีความ
                                                                    ิ
                                                                               ี
                       คิดเห็นต่อสภาพการด าเนินงานตามกระบวนการวางแผนของโรงเรยนแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญ
                                                        ี
                       ทางสถิติที่ระดับ 0.01 ในขั้นตอนการเตรยมการวางแผน ขั้นการจัดท าแผน ขั้นปฏิบัติตามแผน และ
                            ั
                                     ื
                       ขั้นปรบแผนหรอจัดท าแผนใหม่ และขัดแย้งกับงานวิจัยของนันทพล   พงษ์สรอย (2550  :
   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136