Page 115 - 025
P. 115
115
จากตารางที่ 50 พบว่า ความคิดเห็นในเรองแนวทางการน ากลยุทธ์ไปใช้ เพื่อพัฒนาการ
ื่
บริหารของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดสตูล ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ประเด็นที่
้
มีความถี่มากที่สุด คือ ทุกคนและบุคคลที่เกี่ยวข้องในองค์กรท าความเข้าใจและสรางตระหนักใน
้
การท า ปฏิบัติตามแผนกลยุทธ์ที่วางไว้ เพื่อให้ถึงเป้าหมายพรอมๆ กัน รองลงมา คือ งบประมาณ
ิ
ิ
ี
และการน ากลยุทธ์ต่างๆ ไปใช้ในการบรหารจัดการ ควรค านึงถึงบรบทของโรงเรยน และมีความถี่
น้อยที่สุด คือ ครูมาสอนที่โรงเรียนนั้นให้ตรงต่อสาขาที่เรียนอยู่
ตอนที่ 6 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการด าเนินงานวางแผนกลยุทธ์ของโรงเรียน
เอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดสตูลจากการสัมภาษณ ์
ิ
ี
ผู้วิจัยได้สัมภาษณ์ผู้บริหารโรงเรยนเอกชนสอนศาสนาอสลามในจังหวัดสตูล เกี่ยวกับการ
ี
ิ
ด าเนินงานวางแผนกลยุทธ์ของโรงเรยนเอกชนสอนศาสนาอสลามในจังหวัดสตูล ซึ่งปรากฏผล
ดังนี้
ี
ิ
1. สภาพการด าเนินงานวางแผนกลยุทธ์ของโรงเรยนเอกชนสอนศาสนาอสลามในจังหวัด
สตูล
ี
ผู้บรหารส่วนใหญเห็นว่า โรงเรยนมีการด าเนินงานวางแผนที่ไม่ชัดเจน และไม่สามารถ
ิ
่
ด าเนินงานตามแผนที่วางไว้ การด าเนินงานวางแผนกลยุทธ์ วิเคราะห์ไม่ละเอยดและรอบคอบ และ
ี
ไม่สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชน เจ้าหน้าที่ของรฐหรอหน่วยงานต้นสังกัดขาด
ื
ั
ี
ู
ื
การติดตาม หรอการประเมินอย่างต่อเนื่อง และครไม่มีความเป็นเอกภาพ ไม่มีสัมพันธไมตรและ
ความสามัคคี ดังที่ผู้บริหารได้ให้ความเห็นไว้ คือ
“การบริหารงานไม่ชัดเจน และไม่สามารถด าเนินการวางแผนที่เป็นนามธรรม มาปฏิบัติให้
เป็นรูปธรรมได้ร้อยเปอร์เซ็น และเจ้าหน้าที่ของรัฐขาดการติดตาม หรือการประเมินอย่างต่อเนื่อง”
มูนีรมูฮัมหมัด ใบกาเด็ม
“ไม่เป็นไปตามแผนที่ได้วางไว้เท่าที่ควร เพราะครโรงเรยนเอกชนในจังหวัดสตูลไม่มี
ู
ี
ความเป็นเอกภาพ”