Page 94 - 022
P. 94
94
ี
ี
ิ
ี่
1
ี
ี่
็
ส่วนท 31) เปนต้น ในต าราหะดษ Sunan al-Nasa’i ของอัลนะสาอย์มบททว่าด้วยการห้ามมให้
ิ
ี่
ุ
ขัดขวางสภาพสตรไปมัสยิด (บทท 8 ส่วนท 15) บทว่าด้วยเกียรตของบรรดาภรยาผู้ทออกญฮาด
ิ
ี่
ี
ี่
ิ
ี่
ิ
(บทท 25 ส่วนท 47) บทว่าด้วยสัมพันธภาพกับสตร (บทท 37) บทว่าด้วยผู้หญงให้การสัตยาบัน
ี่
ี่
ี
ี่
ี
็
ี่
ี
2
(บทท 40 ส่วนท 18) เปนต้น แม้ว่าต าราอัลหะดษเหล่าน้มบทต่างๆ ทเกี่ยวข้องเศาะหาบยาตในยุค
ี
ี่
ี
สมัยของท่านนบ เปนจ านวนมาก แต่ก็กระจัดกระจายอยู่ในบทต่างๆ ตามหัวข้อฟกฮ์ หรอตาม
ื
็
ี
ิ
ี
ื
ึ
ี
ี
ี
ิ
ี่
์
อัธยาศัยของผู้รวบรวมหะดษ โดยไม่ได้เรยบเรยงเน้อหาตามล าดับเหตการณทเกิดข้นจรง บางหะดษ
ุ
ี
ี
็
็
ื
์
ี
ขาดรายละเอยดของเน้อหาเปนอย่างมาก อกทั้งต าราอัลหะดษไม่ได้สังเคราะหจ าแนกออกมาเปน
ี
ี
บทบาทด้านต่างๆ ของสตรในยุคสมัยของท่านนบ อย่างชัดเจน
ี
ี
นอกจากอัลกุรอานและต าราอัลหะดษแล้ว ต าราประเภทสเราะฮ์และมะฆอซย์ (ต ารา
ี
อัตชวประวัตนบมหัมมัด) ต าราประเภทประวัตศาสตรอสลาม ต าราประเภทฏอบะกอตและตะ
ี
ุ
ี
์
ิ
ิ
ิ
็
์
รอญม ( ) ต่างๆ ทนพนธข้นในยุคกลางของอสลามล้วนแต่เปนแหล่งข้อมูลชั้นต้น
ิ
ี่
ิ
ุ
ึ
์
ทส าคัญยิ่งเกี่ยวกับเหตการณต่างๆ ของสตรในยุคสมัยของท่านนบ ตัวอย่างเช่น ต ารา Al-
ี
ี่
ี
ุ
3
ี
ี
ี
ี
ี
ี
ี
ุ
Maghazi ของมูซา อบน อกบะฮ์ (เสยชวิตป ฮ.ศ. 141) และของอัลวากิดย์ (เสยชวิตป ฮ.ศ. 207)
ิ
ุ
4
ุ
ิ
ุ
ี
ิ
ี
ิ
ต ารา Al-Sirah al-Nabawiyah ของอบน อสหาก (เสยชวิตป ฮ.ศ. 151/ค.ศ. 768) และของอบน
ี
ี
ิ
ุ
ิ
ี
ฮชาม (เสยชวิตป ฮ.ศ. 218/ ค.ศ. 833) ต ารา Jawami‘ al-Sirah ของอบน หัซม์ (เสยชวิตป ฮ.ศ. 456)
ี
ี
ี
ี
ิ
ุ
ี
ี
ี
ต ารา Al-Durar Fi Ikhtisar al-Maghazi wa al-Siyar ของอบน อับดลบัรร อัลกุรฏบย์ (เสยชวิตป ฮ.ศ.
ุ
์
ี
ุ
ุ
ิ
463) ต ารา ‘Uyun al-Athar Fi Funun al-Maghazi wa al-Shama’il wa al-Siyar ของอบน สัยยิด อัล
ุ
นาส (เสยชวิตป ฮ.ศ. 734) ต ารา Zad al-Ma‘ad Fi Huda Khair al-‘Ibad ของอบน อัลก็อยยิม อัลเญา
ี
ี
ี
ิ
ี
ี
ี
็
่
ี
็
ึ
ี
ซยะฮ์ (เสยชวิตป ฮ.ศ. 751) เหล่าน้ล้วนแต่เปนต าราประเภทสเราะฮ์และมะฆอซย์ทส าคัญยิ่งซงเปน
ี่
ี
ี
แหล่งข้อมูลเกี่ยวกับสเราะฮ์เปนการเฉพาะรวมถงเหตการณทเกี่ยวกับเศาะหาบยาตในยุคสมัยของ
ี
ี
็
ึ
ุ
์
ี่
ท่านนบ ด้วย
ี
ี
ี
ี
ี
นอกจากน้ ต ารา Tarikh al-’Umam wa al-Muluk ของฏอบารย์ (เสยชวิตป ฮ.ศ. 310/ ค.ศ.
ี
ี
922) ต ารา Al-Kamil Fi al-Tarikh ของอบน อัลอะษร (เสยชวิตป ฮ.ศ. 630/ ค.ศ. 1232) และต ารา
ี
ี
ี
ิ
ุ
ี
ี
ุ
ี
ิ
ี
Al-Bidayah wa al-Nihayah ของอบน กะษร (เสยชวิตป ฮ.ศ. 774/ ค.ศ. 1372) แม้ว่าทั้งสามเล่มเปน
็
1
ดเพ่มเตมใน Al-Bukhari 1400 A.H.. Al-Jami‘ Al-Sahih. Vol.I-V. Muhib al-Din al-Khatib, Tahqiq. Al-Qahirah
ู
ิ
ิ
: Al-Matba‘ah al-Salafiyah.
2 ดเพ่มเตมใน Al-Albani. 1998. Sahih Sunan al-Nasa’i . Riyad : Maktabah al-Ma‘arif
ู
ิ
ิ
3
ี
ั
ปจจบันส่วนหนงของต าราเล่มน้ได้รบการตพิมพ์โดย Muhammad Baqshish Abu Malik
ั
่
ี
ึ
ุ
4
ั
ี
ึ
ั
ุ
ี
่
์
่
ึ
ปจจบันส่วนหนงของต าราเล่มน้ได้รบการตพิมพ์ซงตะหกีกโดย Muhammad Hamidullah