Page 84 - 022
P. 84

84








                                                                          ็
                                                   ี่
                                                                                                    ื
                                   ุ
                                      ิ
                                                               ื่
                       ในยุคน้ ีโลกมสลมอยู่ในภาวะทถดถอยและเสอมโทรมเปนอย่างมาก ทั้งในด้านการเมองการ
                                                                                                  ึ
                       ปกครอง การทหาร สังคม เศรษฐกิจและการศกษา ความยุ่งเหยิงและระส าระส่ายทเกิดข้นภายใน
                                                                                     ่
                                                                                              ี่
                                                              ึ
                                                           ื่
                                 ิ
                                                                                        ิ
                                                                             ิ
                       อาณาจักรอสลามแห่งออตโตมาน และคลนแห่งการล่าอาณานคมของชาตมหาอ านาจตะวันตก
                                                                                                       ู
                                                              ั
                                                                    ิ
                                                                 ุ
                                                                                  ็
                                     ้
                       ตลอดจนความราวฉานแตกแยกกันในหมู่รฐมสลมด้วยกันล้วนเปนชนวนการเปดประตให้
                                                                                                ิ
                                                                                                 ั
                                                                      ึ
                                                           ิ
                                                                         ี
                                                         ์
                                         ี
                                                                               ์
                                                                           ิ
                       ชาวตะวันตกเข้ามามบทบาทในศาสตรอสลามมากข้น มนพนธต้นฉบับภาษาอาหรบ (Arabic
                                           ็
                                   ี่
                                                                                           ี
                                                                 ี
                                                                                             ี
                                                           ั
                       Manuscript) ทหายากเปนจ านวนมากได้รบการตพิมพ์เผยแพร่โดยนักบูรพาคด มการแปลต ารา
                                   ิ
                                                       ี
                                                            ื
                       ส าคัญๆ ของอสลาม มการจัดตั้งโรงเรยนหรอสถาบันตะวันออกศกษา (Oriental Studies) ข้นหลาย
                                          ี
                                                                              ึ
                                                                                                   ึ
                                                                                                  1
                                            ุ
                                                                                      ึ
                       แห่ง และได้จัดท าห้องสมดตะวันออก ตลอดจนได้จัดตั้ง Asiatic Societies ข้นมาหลายแห่ง  และใน
                                                                             ี
                                                                                         ุ
                                      ี
                                                                                 ี่
                               ี
                                                        ิ
                                                                                                        ุ
                                                      ี่
                       ยุคน้เองมผลงานสเราะฮ์จ านวนมากทนพนธข้นโดยนักบูรพาคดทั้งทมาจากกล่มนักบวช และกล่ม
                          ี
                                                            ์
                                                              ึ
                                                                    ี
                                                                                       ี
                                           ่
                       นักวิชาการทไม่ได้ฝกใฝกับศาสนจักร แม้ว่าผลงานสเราะฮ์ของนักบูรพาคดมคณค่ามากในแวดวง
                                                                                        ี
                                                                                          ุ
                                        ั
                                  ี่
                                                                                                        ื
                                      ่
                                                                                   ี
                       วิชาการ แต่ส่งหนงทควรตระหนักอยู่เสมอว่า ไม่ว่าจะเปนนักบูรพาคดทมาจากกล่มนักบวชหรอ
                                                                                             ุ
                                  ิ
                                                                                     ี่
                                         ี่
                                      ึ
                                                                       ็
                         ุ
                                                                                       ิ
                                                                      ื
                                                            ิ
                                                                                                      ี
                                                                  ี่
                                                                                  ื
                                                                                                 ็
                                            ี
                       กล่มนักวิชาการล้วนแต่มจดยืนต่อศาสนาอสลามทเหมอนกัน กล่าวคอ ปฏเสธความเปนนบของ
                                              ุ
                                                                                   2
                                                                ็
                       ท่านนบมหัมมัด   และไม่ยอมรบว่าอัลกุรอานเปนพจนารถของพระเจ้า
                                                   ั
                               ุ
                             ี
                                                                                             ์
                                          ื้
                                                                                                    ี
                                                                                 ิ
                                                                                  ู
                              6. ยุคของการฟนฟูสเราะฮ์ (          ) เปนยุคทมการปฏรปการนพนธศาสตรสเราะฮ์
                                                                           ี
                                                                                         ิ
                                                                    ็
                                                                                                   ์
                                                                          ี่
                                               ี
                                                                                               ี
                                                                                     ี
                                                                                          ี
                                 ่
                       ในมตใหม่ ซงเกิดข้นจากผลพวงของปญหาและข้อคลางแคลงใจในระเบยบวิธการเขยนสเราะฮ์ท        ี่
                                                        ั
                                       ึ
                          ิ
                                  ึ
                            ิ
                                                                                                   ี
                       เกิดข้นในยุคของนักบูรพาคด  ต าราสเราะฮ์ในยุคการฟนฟูน้จะยึดระเบยบวิธเชงวิชาการ (
                                                ี
                                                                           ี
                           ึ
                                                                                         ี
                                                                                    ี
                                                       ี
                                                                      ื้
                                                                                           ิ
                                                                                  ี
                            ) ระเบยบวิธการวิพากษ์ (              ) ตลอดจนใช้ระเบยบวิธการอนมาน (
                                        ี
                                                                                              ุ
                                  ี
                                                                                       ี
                                                                                     ์
                               ) โดยการถอดเน้อหาสเราะฮ์ ออกมาส่มตของบทเรยน อทาหรณหรอบทบัญญัตต่างๆ
                                                                                       ื
                                                                         ี
                                                  ี
                                             ื
                                                                                                 ิ
                                                                  ิ
                                                                ิ
                                                               ู
                                                                                                      3
                                                                              ุ

                       1  ในป ค.ศ. 1778 ฮอลแลนด์ได้จัดตั้ง Asiatic Society ข้นในพ้นทอาณานคมของตนเองในภมภาคตะวันออกของ
                                                                                          ู
                           ี
                                                               ึ
                                                                            ิ
                                                                                           ิ
                                                                    ื
                                                                       ี่
                                                                                          ึ
                         ิ
                                                                                               ื
                                           ี
                        อนเดย ต่อมาอังกฤษได้เลยนแบบฮอลแลนด์โดยการจัดตั้ง General  Asiatic  Society  ข้นในเมองกัลกาตาใน
                            ี
                                                                                               ั
                        อนเดย  และในป ค.ศ. 1788 ก็ได้จัดตั้ง Bengal  Asiatic  Society  ข้น ต่อมาในป ค.ศ. 1795 ฝร่งเศสได้จัดตั้ง
                                                                                    ี
                                     ี
                                                                           ึ
                         ิ
                            ี
                                                                               ื
                                      ื่
                                                                                                     ี
                                                                                                   ์
                                             ี
                                                                                         ั
                                   ึ
                        มหาวิทยาลัยข้นเพอจัดการเรยนการสอนภาษาตะวันออกสมัยใหม่ กล่าวคอ ภาษาอาหรบ ภาษาเปอรเซย และ
                        ภาษาตุรกี (Nu’mani, 2001: 80-81)
                       2
                                                     ื
                                                                                            ื
                        ตัวอย่างต าราสเราะฮ์ในยุคน้ เช่น หนังสอ The life of Mahomet ของ William Muir  หนังสอ Mohammed and
                                   ี
                                             ี
                        the Rise of Islam ของ D.S. Margoliouth หนังสอ Muhammad at Mecca และ Muhammad at Medina ของ W.
                                                            ื
                        Montgomery Watt.
                       3
                                  ี
                        ตัวอย่างต าราสเราะฮ์ในยุคน้ เช่น  หนังสอ Al-Sirah al-Nabawiyah Fi Daw’ al-Masadir al-Asliyah (
                                            ี
                                                     ื
                                                           ์
                                                                                                        ี
                                                                    ื
                                          )   ของรซกุลลอฮ อะหมัด  หนังสอ Fiqh  al-Sirah  (  )  ของมุหัมมัด สะอด
                                                ิ
                                                       ฺ
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89