Page 45 - 022
P. 45
45
2. ด้านสังคม (Social Aspect) กล่าวคอ ศาสนาอสลามได้ปกปองและยกย่องเกียรต์สตรใน
ื
ิ
ี
ิ
้
ี่
สถานะภาพต่างๆ ทั้งในสถานะทเปนบตรสาว ภรรยา และมารดา ครอบครวจะต้องให้การดแลต่อ
ู
ั
ุ
็
็
ุ
ั
็
ึ
ิ
ิ
ิ
็
บตรสาวอย่างเปนธรรม การศกษาไม่เพียงแค่เปนสทธหากแต่เปนความรบผิดชอบทั้งชายและหญง
์
็
็
ั
การแต่งงานไม่ใช่เปนการตอบสนองทางอารมณของเพศชายเท่านั้น หากแต่เปนความรก ความ
ี
ี
เมตตาและความสงบร่วมกันทั้งสองเพศ นอกจากน้การเข้าไปมส่วนร่วมของสตรในสังคมจะต้อง
ี
ไม่กระทบต่อความมั่นคงและความเข้มแข็งของครอบครว
ั
ิ
ิ
ิ
3. ด้านเศรษฐกิจ (Economic Aspect) กล่าวคอ กฎหมายอสลามได้ก าหนดสทธในทรพย์สน
ื
ั
ิ
ิ
ั
ี
ิ
ี
ของสตรอย่างสมบูรณทั้งก่อนและหลังแต่งงาน พวกนางมสทธในการครอบครองและใช้ทรพย์สน
์
ิ
ี
ี่
ี่
ิ
ี
ิ
์
อย่างสมบูรณ นอกจากน้นางมสทธทจะท างานในลักษณะงานทเหมาะสมกับนาง โดยเฉพาะอย่าง
ุ
ี่
ี่
ี่
ยิ่งในงานทสังคมต้องอาศัยความช านาญของพวกนาง แต่อย่างไรก็ตามบทบาททส าคัญทสดของ
พวกนางทไม่มใครสามารถท าแทนได้ก็คอ บทบาทความเปนแม่และความเปนภรรยา
ื
็
็
ี่
ี
4. ด้านการเมอง (Political Aspect) กล่าวคอ สตรมสทธทางการเมองเท่าเทยมกับบรษ สตร ี
ุ
ี
ี
ิ
ิ
ื
ื
ุ
ี
ื
็
็
สามารถเข้าร่วมในกิจกรรมสาธารณะและสามารถเปนผู้น าได้ ยกเว้นการเปนผู้น าการละหมาดและ
ั
ผู้น าสงสดของรฐ
ู
ุ
ิ
์
ู
ิ
ึ
อัฟซาลร เราะหมาน (Rahman, 1986: 1) ได้กล่าวถงลักษณะธรรมชาตกับภารกิจของผู้หญง
ึ
ิ
ไว้ว่า ด้วยเงอนไขทางร่างกายและจตใจทแตกต่างกันระหว่างเพศชายและเพศหญง จงมเหตผลอย่าง
ี
ุ
ี่
ื
ิ
ยิ่งทภารกิจโดยทั่วไปของผู้หญงควรจะเปนกิจกรรมภายในบ้าน ในขณะทภารกิจของผู้ชายควรเปน
ิ
็
ี่
ี่
็
กิจกรรมนอกบ้าน ธรรมชาตในตัวผู้หญงมศักยภาพและความพรอมในภารกิจภายในบ้าน
ิ
ิ
้
ี
ู
็
ู
ี
่
โดยเฉพาะอย่างยิ่งภารกิจการดแลเล้ยงดและให้การอบรมแก่ลกๆ ซงเปนภารกิจทส าคัญยิ่งเพราะ
ู
ึ
ี่
ิ
ื
ื
ิ
ื
เด็กคออนาคตของชาต โชคชะตาของประชาชาตในอนาคตจงตกอยู่ในเง้อมมอของผู้หญง พวกนาง
ึ
ิ
ี่
ี่
็
ิ
้
่
ั
ี่
ึ
รบผิดชอบในการสรางประชาชาตในอนาคต ซงเปนภาระหน้าททยิ่งใหญ่ทเต็มไปด้วยความยุ่งยาก
ื
ู
ั
ี
และความรบผิดชอบสง หากพวกนางบกพร่องหรอละเลยต่อภารกิจดังกล่าวน้ ย่อมก่อให้เกิดความ
ิ
ิ
ี่
ี
ุ
ิ
หายนะแก่ชาตอย่างชนดทไม่สามารถแก้ไขได้อย่างแน่นอน ด้วยเหตน้ผู้หญงจะต้องท่มเทความ
ุ
ิ
ื่
็
ึ
่
ตั้งใจอย่างจรงจังต่อภารกิจภายในบ้าน และอย่างปล่อยให้ภารกิจอนซงเปนภารกิจรองมาท าลาย
ื
ี
ื
ี
หรอมารบกวนภารกิจหลักเหล่าน้ ี แต่อย่างไรก็ตามส าหรบสตรทไม่มบตรหรอไม่มภารกิจใน
ี่
ี
ั
ุ
ี่
ิ
ี
ั
ครอบครว สามารถเข้าไปมส่วนร่วมในกิจกรรมอนๆ ทจะบรการให้แก่สังคมในด้านต่างๆ ได้
ื่
ิ
ศาสนาอสลามไม่ได้กีดกั้นพวกนางทจะเข้าไปมส่วนร่วมในสังคมตราบเท่าทพวกนางยังอยู่ใน
ี
ี่
ี่
กรอบของชะรอะฮ์และสามารถรกษาเกียรตยศและความเปนกุลสตรของพวกนางได้
ั
ี
็
ิ
ี
์
ี
ึ
นอกจากน้อัฟซาลร เราะหมาน (Rahman, 1986: 241-242) ได้กล่าวถงสถานภาพและ
ู
ี
ิ
บทบาทสตรในอสลามไว้ว่า ศาสนาอสลามได้สถาปนาสถานภาพและบทบาทของสตรเพศอย่าง
ิ
ี