Page 16 - 0018
P. 16

8


               2.2 ความหมายการบริการวิชาการแก่สังคม

                       บริการวิชาการ หมายถึง การให้บริการวิชาการด้านวิชาชีพแก่สังคมและชุมชน รัฐวิสาหกิจหรือ เอกชน
               อันก่อให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาการแก่สังคม โดยอาศัยความรู้และความสามารถทางวิชาการ ตลอดจนการ
               สร้างหรือเสริมประเสริมประสบการณ์ในการประยุกต์วิชาการให้เหมาะสมกับสังคมไทย และการ เรียนการสอนใน

               มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก การบริการวิชาการแก่สังคม หมายถึง การยึดชุมชนเป็นหลัก
               ประชาชนต้องร่วมมือกัน ช่วยเหลือกัน พึ่งตนเอง และสร้างความเข้มแข็งของชุมชนโดยการร่วมมือของประชาชน

               สนับสนุนให้เกิดเครือข่ายของ ชาวบ้าน หรือหน่วยงานอื่น ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน โดยมหาวิทยาลัยสามารถเข้าไป
               สนับสนุนให้ตรงกับความ ต้องการ อันจะทำให้เกิดการพัฒนาเพื่อการพึ่งพาตนเองของชุมชนได้อย่างยั่งยืนต่อไป

               (คู่มืองานบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก, 2555)

                       การบริการวิชาการแก่สังคม หมายถึง การที่สถาบันการศึกษาเป็นที่พงของชุมชนหรือเป็นแหล่งอางองทาง
                                                                                                     ้
                                                                                                         ิ
                                                                               ึ่
               วิชาการ หรือทำหน้าที่ใดๆ ที่มีผลต่อการพัฒนาขึ้นของชุมชนในด้านวิชาการหรือทำหน้าที่ใดๆ ที่มีผลต่อการพัฒนา
               ชุมชนในด้านวิชาการหรือการพัฒนาความรู้ ตลอดจนช่วยเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนสามารถพึงตนเองได้
               ตามศักยภาพ (สำนักวิชาการ มหาวิทยาลัยเนชั่น, 2562)


                       การบริการวิชาการแก่สังคม หมายถึง แผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรม ที่ฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ
               เป็นผู้ดำเนินงานสนับสนุนและส่งเสริมคณะวิชาเป็นที่พึ่งทางวิชาการที่เหมาะสมแก่สังคมชุมชนท้องถิ่นและ

               ประเทศชาติและได้ใช้องค์ความรู้พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับบริบทของชุมชนและสังคมใน
               การให้บริการวิชาการแก่ชุมชนเพื่อพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนอย่างต่อเนื่อง (ฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ
               มหาวิทยาลัยพายัพ, 2558)


                       กล่าวโดยสรุป คือ การบริการวิชาการแก่สังคม ถือเป็นกระบวนการที่มีความสำคัญในการนำองค์ความรู้
               ของหน่วยงาน มหาวิทยาลัยนั้น ๆ ที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะ จนนำไปสู่กระบวนการเผยแพร่ ถ่ายทอดสู่ชุมชน

               สังคม  ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น โครงการ หรือ กิจกรรม โดยคำนึงถึงความต้องการของชุมชนและสังคมเป็นสำคัญ

                       2.2.1 ลักษณะและขอบเขตของการบริการวิชาการแก่สังคม


                       ตามระเบียบมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ว่าด้วยการใหบริการทางวิชาการ พ.ศ. 2551 การใหบริการ
               วิชาการแกสังคมของมหาวิทยาลัยได้แบ่งกลุ่มการใหบริการ ออกเป็น 7 กลุม ด้วยกัน ได้แก่

                              1)  การวิเคราะห์ทดสอบ ตรวจสอบและตรวจซอม การให้บริการเครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ

                              2)  การใหบริการเกี่ยวกับสุขภาพ ที่นอกเหนือจากหนาที่ความรับผิดชอบโดยตรงของ หน่วยงาน

               ที่เกี่ยวข้อง
                              3) การจัดฝกอบรม สัมมนา ประชุมปฏิบัติการ

                              4) การศึกษา สํารวจ วิเคราะห์ ออกแบบและประเมิน

                              5) การใหคำปรึกษาและคำแนะนำ
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21