Page 99 - 001
P. 99

ี
                          นโยบายสาธารณะ: แนวคิดพื้นฐาน ขอโตแยงกระบวนการนโยบาย และระเบียบวิธ           ยศธร ทวีพล
                          Public Policy: Basic Concepts, Policy Process Arguments and Methodology

                          ไดสวนเสีย โดยมีความสามารถในการระบุสาเหตุ ขอบเขตปญหา ประเภทปญหา การออกแบบการ
                                                                                                  
                          พัฒนาประสิทธิภาพนโยบาย ซึ่งกระตุนใหเกิดการวิเคราะหปญหา การวิเคราะหผลประโยชนนโยบาย
                          และการกระตุนการมีสวนรวมของพลเมืองบนการถกเถียง การจัดการปกครอง การพิจารณาเปาหมาย
                          การแสดงความตองการสินคา บริการและภาวะผูนำ (Alidu, 2023: 131) ซึ่งถือวาเปนประโยชนตอ
                                                                                                      
                          การปรับปรุงการตัดสินใจและทิศทางการศึกษาของกระบวนการนโยบายในอนาคต



                          ภาพที่ 3.6 ความสัมพันธระหวางปจจัยการกีดกันและความยากจน




                             การเลือกปฏิบัติและ                                            การกีดกัน
                               ความออนแอ







                                การกีดกัน                                                ความยากจน
                                ทางสังคม



                          ที่มา: Ezati (2023: 190)



                                 รวมถึงวงจรนโยบายแตละวงจรจำเปนตองมุงสูการศึกษานโยบายสาธารณะในประเดนใหม
                                                                                                    ็
                          อาทิ เพศ เชื้อชาติ ศาสนา ชาติพันธุ สถานะทางสังคม เศรษฐกิจ บทบาท วัฒนธรรม ความไมเทา
                                           
                          เทียมกัน ความแตกตางทางสังคม ความรับผิดชอบ สิทธิ พฤติกรรม ขอพิพาท ความตึงเครียด ความ
                          รวมมือ ความเปนรัฐ-ครอบครัว ครอบครัว-ตลาดแรงงาน ประกอบดวย รัฐ ชุมชนและครอบครัว โดย
                          ระบุความสัมพันธ การแทรกแซงและการสนับสนุนนโยบายของผูเกี่ยวของอยางเปนสหวิทยาการ
                                        
                          คุณลักษณะตางๆ ของผูมีสวนไดสวนเสียในการปฏิสัมพันธกับนโยบาย ซึ่งตัวแปรสามารถสะทอนการม ี
                          สวนรวมทางสังคม ปญหาการกีดกนทางสังคม ความยากจน ความออนแอและปญหาการเขาถึงสิทธิ
                                                      ั
                          ทางสังคมของกลุมคนตางๆ ลวนแตเกี่ยวของกัน ดังภาพที่ 3.6 (Ezati, 2023)







                                                                                                              79
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104