Page 145 - 001
P. 145

ี
                          นโยบายสาธารณะ: แนวคิดพื้นฐาน ขอโตแยงกระบวนการนโยบาย และระเบียบวิธ           ยศธร ทวีพล
                          Public Policy: Basic Concepts, Policy Process Arguments and Methodology

                                 ปญหาอยางเปนทางการ อาจถูกมองแตกตางกันตามสาขาวิชาที่เกี่ยวของ เชน เศรษฐศาสตร
                          สังคมวิทยา รัฐศาสตรหรือวิศวกรรมศาสตร ซึ่งความแตกตางดังกลาว เปรียบเสมือนเลนสการมองและ

                          เขาใจปญหา ตัวอยางเชน หากเปนปญหาตามมุมมองสาขาวิชารัฐศาสตร นักวิเคราะหนโยบาย
                                                                          
                          จำเปนตองตระหนักตอการจัดสรรอำนาจใหม ความสัมพันธเชิงอำนาจ การใหความสำคัญกับการ
                          แขงขัน อิทธิพลระหวางกลุม ชนชั้นนำ และสะทอนปญหาอยางเปนทางการ (Dunn, 2017: 79) จน
                                                                           
                          ปญหาเขาสูการรับรูของฝายบริหาร นิติบัญญัติ ตุลาการ ตลอดจนบรรดาขาราชการ (Coplin, 2017)


                                 บทบาทนักวิเคราะห    



                                 นักวิเคราะหมีหนาที่สำคัญจัดการกับวงจรนโยบาย ตั้งแตการกำหนดวาระนโยบาย จนถึงการ
                          ประเมินนโยบาย สำหรับการกำหนดวาระนโยบาย สามารถชวยใหนักวิเคราะหคนหาสมมุติฐาน
                                               
                                      ุ
                          ประเมินสาเหต คาดการณความเปนไปไดและการสังเคราะหมมมองที่ขัดแยงกัน จนกระทั่งนำมาสู
                                                                            ุ
                                                           
                                                                                       
                          นโยบายใหม ซึ่งในวงจรดังกลาว นักวิเคราะหจำเปนตองมีทักษะการคาดการณ อันเปนการจัดการกับ
                          ความคาดหวังในผลลัพธนโยบายของประชาชน ตอมาเปนสวนของการกำหนดนโยบาย วงจรดังกลาวม ี
                          สวนชวยใหนโยบายถูกสรางขึ้นอยางมีเหตุผล บนพื้นฐานศักยภาพการแกไขปญหาสังคม ม ี
                          ความสามารถในการระบุคุณคา โดยเฉพาะความเสี่ยง ความไมแนนอนหรือความพึงพอใจนโยบาย

                          จนกระทั่งสามารถเลือกทางเลือกตางๆ ไดอยางเหมาะสม และนำมาสูการยอมรับนโยบาย ตอมาเปน
                          การนำนโยบายไปปฏิบัติ ถือเปนการมอบหมายความรับผิดชอบใหแกสวนราชการในการขับเคลื่อน

                          นโยบาย และสุดทาย การประเมินนโยบาย เกี่ยวของกับการสังเกตผลลัพธ ผลกระทบหรือขอจำกัด ซึ่ง
                          การวิเคราะหนโยบายภายใตวงจรนโยบายถือวาเปนหนาที่ของนักวิเคราะห (Dunn, 2017)

                                                              ั
                                 บทบาทนักวิเคราะหนโยบายในการจดการกับวงจรนโยบายจำเปนตองอาศัยขอมูลเอกสาร
                          ขอมูลการสังเคราะห บทสรุปสาระสำคัญ เอกสารรายงาน หนังสือพิมพ บทความ บทสรุปการ
                                                                                      
                                                                                 ิ
                          สัมภาษณของผูมีสวนไดสวนเสีย สถิติขอมูลเพื่อพิจารณาตัวแปรที่มีอทธิพลตอการวิเคราะห อยบน
                                                                                                      ู
                                                             
                          พื้นฐานการใชความร ทักษะ การถกเถียงอยางเปนวิทยาศาสตรเพื่อใหเกิดมุมมองการวิเคราะหอยาง
                                           ู
                          หลากหลาย อยางไรก็ตามโดยสวนใหญการวิเคราะหนโยบายมักเปนการวิเคราะหเนื้อหา ดังภาพที่ 5.3
                          ซึ่งเปนวิธีที่แฮโรลด ลาสเวลล ใหความสนใจ (Howland, Becker and Prelli, 2006) เนื่องจากเทคนิค
                          การวิเคราะหสามารถนำมาสูการสรางความเขาใจนโยบายและสังคม ขอสรุปสาเหตุ ปญหานโยบาย

                          ภูมิหลังการแกปญหา ทิศทางการพัฒนา การตัดสินใจนโยบาย การระบุและประเมินทางเลือกในการ
                                      
                          แกไขปญหา ผลลัพธนโยบายและขอเสนอแนะนำที่เปนประโยชนตอการกำหนดหรือการนำนโยบาย

                          สาธารณะไปปฏิบัติในอนาคต อยางไรก็ตามนักวิเคราะหอาจอาศัยมุมมองการวิเคราะหอื่นๆ เชน วาท





                                                                                                              125
   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150