Page 77 - 001
P. 77

66


                                                         บทที่ 6

                                            สมัยเหล็กหรืออินเดียสมัยพุทธกาล

                          หลังจากชาวอารยันเข้ามาตั้งมั่นในอินเดียอย่างมั่นคงแล้ว พฒนาการทางอารยธรรม
                                                                                ั
                                           ิ่
                   ของประชาชนในอินเดียเพมสูงขึ้นตามลำดับ อย่างไรก็ดี ในช่วงประมาณ 2,800 – 2,400 ปี
                   มาแล้ว หรือ 300 ปีก่อนพทธกาล – พทธศตวรรษที่ 2 ยังถือว่าเป็นสมัยก่อนประวัติศาสตร์อยู่
                                                     ุ
                                          ุ
                   โดยในช่วงเวลาดังกล่าว นักโบราณคดีเรียกยุคสมัยนี้ว่า “สมัยเหล็กตอนต้น” ในขณะที่นัก
                   ประวัติศาสตร์จะเรียกว่า “สมัยก่อนสมัยราชวงศ์โมริยะ” ต่อมาในช่วงพทธศตวรรษที่ 3-5
                                                                                      ุ
                                                  ั
                   (350-50ปีก่อนคริสตกาล) ช่วงนี้พฒนาการทางอารยธรรมของประชากรสูงขึ้น นักโบราณคดี
                                                                                                     1
                   เรียกสมัยนี้ว่า “สมัยเหล็กตอนปลาย” นักประวัติศาสตร์เรียกว่า “สมัยราชวงศ์โมริยะ-ศุงคะ”


                   สภาพสังคมในสมัยยุคเหล็กตอนต้น-ตอนปลาย
                                                                      ุ
                          จากหลักฐานทางโบราณคดีจะพบว่าในช่วงต้นพทธกาล อารยธรรมของประชากรใน
                   อินเดียยังจัดอยู่ในระดับสังคมชนบท (rural community) นักโบราณคดีเรียกยุคนี้ว่า “สมัย
                   เหล็กตอนต้น” ยังคงพบเครื่องมือเครื่องใช้ทองแดง ซึ่งสืบต่อมาจากยุคทองแดงอยู่ แต่เริ่ม
                   ปรากฏเครื่องมือเครื่องใช้เหล็กแล้ว มีการตั้งถิ่นฐานเป็นหมู่บ้านเล็กๆกระจายตัวไปตามริมฝั่ง

                   แม่น้ำคงคาตอนบน สำหรับด้านสาธารณสุขนั้น ได้มีการขุดบ่อน้ำทิ้งที่ยังไม่มีการบุผนังบ่อด้วย
                   วงแหวนดินเผา ก่อสร้างบ้านเรือนด้วยไม้บนพนดินอัด (มีร่องรอยหลุมเสาไม้) และมีการสร้างคู
                                                           ื้
                   น้ำและคันดินล้อมรอบเมืองเพื่อป้องกันน้ำท่วม
                          เครื่องมือเครื่องใช้เหล็กที่พบจากการขุดค้นเมืองโบราณในบริเวณลุ่มแม่น้ำคงคามีเป็น
                   จำนวนมาก เป็นต้นว่า หัวลูกศรและหัวหอกที่ใช้ในการล่าสัตว์ ส่วนอาวุธสงครามประเภทใบ

                   หอกและดาบสั้นนั้นพบไม่มากนัก พบหลักฐานการถลุงเหล็กและตีเหล็ก
                          นอกจากเครื่องมือเครื่องใช้เหล็กแล้วยังพบโบราณวัตถุประเภทอื่น ๆ อีกที่ทำด้วย

                   กระดูกก็พบเป็นจำนวนมาก ส่วนใหญ่เป็นหัวลูกศร ปิ่นปักผม เข็มเย็บผ้า สำหรับประเภทดิน
                   เผานั้นได้พบประติมากรรมชิ้นเอกรูปพระแม่หรือเจ้าแม่แห่งความอุดมสมบูรณ์ (mother
                   goddess)  ประติมากรรมรูปสัตว์ เช่น วัว ส่วนเครื่องประดับที่พบก็ทำด้วยวัสดุหลายประเภทมี

                   กำไลแก้ว แหวนทองแดง ตุ้มหูดินเผาแบบต่าง ๆ ลูกปัดที่พบส่วนใหญ่ทำด้วยหินอาเกตและหิน
                                                                                         ื
                   คาร์เนเลียน พบเครื่องใช้ในครัวประเภทสากกับแท่งหินบด (สำหรับบดเมล็ดพช)  อาชีพหลัก
                   ของประชากรในยุคนี้คือการเกษตรโดยมีอาชีพรองคือการล่าสัตว์ หาของป่า และจับสัตว์น้ำ ยัง
                   จัดอยู่ในระดับสังคมชนบท ยังไม่จัดเป็นสังคมเมืองเพราะไม่มีการวางผังเมือง ยังไม่มีการใช้อิฐ



                          1  การศึกษาในทางโบราณคดีและประวัติศาสตรมีความใกล้ชิดเชื่อมโยงกัน เนื่องจากเป็นการศึกษาเรองราวในอดีต
                                                                                             ื่
                                                          ์
                   เช่นเดียวกัน แต่ก็มีความแตกต่างกันในเรองแนวทางในการศึกษา นักโบราณคดีจะใช้หลักฐานทางโบราณคดี เป็นวัตถุดิบในการ
                                              ื่
                                                                           ์
                         ์
                   วิเคราะหลักษณะทางสังคมที่เกิดขึ้นในช่วงระยะเวลานั้นๆ ในขณะที่นักประวัติศาสตรจะใช้หลักฐานทางเอกสารทั้งปฐมภูมิและ
                   ทุติยภูมิเพื่อวิเคราะห์และบรรยายสภาพทางสังคมต่างๆ ในที่นี้ นักประวัติศาสตร์ได้นำหลักฐานประเภทวรรณคดีต่างๆ เช่น  คัมภีร ์
                                                                                      ์
                   พระเวท คัมภีรในพระพทธศาสนา มหากาพย์มหาภารตะ มหากาพย์รามายณะ และคัมภีรอรรถศาสตร (แต่งโดยเกาฑิลยะ) ซึ่ง
                             ์
                                                                              ์
                                   ุ
                   ปรากฏศาสตร์เกี่ยวกับการปกครองของอินเดียโบราณมาบรรยายรูปแบบการปกครองและองค์กรทางการเมืองของอินเดียในยุคนั้น
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82