Page 85 - 2563
P. 85
หมวด 6 การปฏิบัติการ
ั
ั
โปรแกรมเมอร์ท ำหน้ำที่ในกำรเฝ้ำระวงควำมปลอดภยของระบบสำรสนเทศบนไซเบอร์ทุกวน มีกำร
ั
่
่
ตรวจสอบร่องรอยกำรเขำใชงำนเครือขำยผ่ำน Log File ตรวจสอบคำคณสมบัติ ไฟล์วอลล์และอัพเดทคำ
่
ุ
้
้
ู
ุ
ิ
คณสมบัติไฟล์วอลล์ เพื่อตรวจจับกำรบุกรุกและมีกำรแลกเปลี่ยน Firewall Log กับศนย์คอมพิวเตอร์ วทยำ
เขตปัตตำนี เพื่อเป็นกำรป้องกันกำรบุกรุกอีกทำงหนึ่ง และประสำนงำนกับศูนย์คอมฯ กรณีมีปัญหำเกิดขึ้น
ส ำนักฯ ใชนโยบำยและประกำศระเบียบขอบังคบและระเบียบขอปฏบัติกำรใชงำนระบบเครือข่ำย
้
้
้
ิ
ั
้
คอมพิวเตอร์และระบบสำรสนเทศปี 2560 (ตำรำงที่ OP1-05) และในปี 2563 ก ำหนดให้ตรวจสอบควำม
ผิดปกติของหน่วยบันทึกข้อมูลภำยนอกก่อนและหลังใช้งำนทุกครั้ง รวมทั้งก ำหนดให้ตรวจสอบควำมสมบูรณ ์
ของฮำร์ดดิสก์ (Error checking) เพื่อให้มั่นใจได้วำขอมูลและสำรสนเทศทั้งระดับบุคคลและระดับองค์กรมี
่
้
ควำมปลอดภัย น่ำเชื่อถือมำกยิ่งขึ้น และเป็นกำรเพิ่มประสิทธิภำพกำรท ำงำนของเครื่องคอมพิวเตอร์
ค. การเตรียมพร้อมด้านความปลอดภัยและต่อภาวะฉุกเฉิน
(1) ความปลอดภัย
ส ำนักฯ ก ำหนดนโยบำยด้ำนควำมปลอดภัยโดยก ำหนดให้มีระบบดังนี้ 1) ระบบรักษำควำมปลอดภย
ั
2) ระบบเตือนอัคคีภัย และ 3) ระบบพลังงำนทดแทน ในแต่ละระบบจะมีผู้รับผิดชอบในกำรท ำแผนปฏิบัติกำร
โดยมีกำรซักซ้อมแต่ละระบบตำมแผนปฏบัติกำรทุกปีและน ำผลที่ทดสอบมำทบทวนและปรับปรุงให้มีควำม
ิ
ชดเจนและมีประสิทธิภำพมำกขึ้น ในปี 2563 คณะกรรมกำรบริหำรควำมเสี่ยง (Risk Management Team:
ั
RMT) ประเมินควำมเสี่ยงที่อำจเกิดขนได้ทั้งด้ำนกำรปฏบัติกำร ด้ำน IT ด้ำนกำรเงิน และด้ำนควำมปลอดภย
ิ
ั
ึ้
จำกอันตรำยต่อชีวิตและทรัพย์สิน และมอบหมำยให้ทีมปฏิบัติกำรจัดท ำแผนบริหำรควำมเสี่ยงแต่ละด้ำน โดย
่
ิ
มุ่งเน้นกำรป้องกันเป็นหลัก เชน 1) แผนกำรก ำหนดหน้ำที่รับผิดชอบของผู้ปฏบัติกำรในแผนควำมปลอดภัย
ั
ี
ั
ี
ิ
ั
ั้
ด้ำนอัคคภยของส ำนักฯ 2) แผนผังขนตอนกำรปฏบัติกำรก่อนเกิดเหตุอัคคภย 3) แผนระงับอัคคภย (Fire
ี
Suppression Plan-FSP) กำรก ำหนดตัวบุคคลและหน้ำที่เพื่อระงับเหตุเพลิงไหม้ขนต้น และ 4) แผนอพยพ
ั้
หนีไฟ (Fire Evacuation Plan-FEP) และมีกำรวัดผลกำรด ำเนินกำรด้ำนกำรจัดกำรควำมเสี่ยง
ภาพที่ 6.2-02 กำรจัดกำรควำมปลอดภัย
75