Page 94 - 025
P. 94
94
ิ
จากตารางที่ 24 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีการศึกษาระดับสูงกว่าปรญญาตร มีสภาพ
ี
ี
ิ
การด าเนินงานวางแผนกลยุทธ์ของโรงเรยนเอกชนสอนศาสนาอสลามในจังหวัดสตูล โดยรวมอยู่
ี
ในระดับมาก ( = 3.85) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรยงล าดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ คือ การ
ี
ปรับปรุงแผน ( = 4.40) การจัดท าแผน ( = 4.08) การเตรยมการวางแผน ( = 3.80) และการน า
แผนไปสู่การปฏิบัติ ( = 3.66)
ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีการศึกษาต่ ากว่าปรญญาตร มีสภาพการด าเนินงานวางแผนกลยุทธ์
ิ
ี
ของโรงเรยนเอกชนสอนศาสนาอสลามในจังหวัดสตูล โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( = 3.42) เมื่อ
ิ
ี
ุ
พิจารณาเป็นรายด้านเรียงล าดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ คือ การจัดท าแผน ( = 3.85) การปรบปรง
ั
แผน ( = 3.41) การน าแผนไปสู่การปฏิบัติ ( = 3.28) และการเตรียมการวางแผน ( = 3.22)
ิ
ี
ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีการศึกษาระดับปรญญาตร มีสภาพการด าเนินงานวางแผนกลยุทธ์
ของโรงเรยนเอกชนสอนศาสนาอสลามในจังหวัดสตูล โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( = 3.37) เมื่อ
ี
ิ
ี
พิจารณาเป็นรายด้านเรยงล าดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ คือ การจัดท าแผน ( = 3.48) การ
ุ
ี
ั
เตรยมการวางแผน ( = 3.40) การปรบปรงแผน ( = 3.39) และการน าแผนไปสู่การปฏิบัติ
( = 3.27)
ี
ี
ตารางท 25 การวิเคราะห์เปรยบเทียบสภาพการด าเนินงานวางแผนกลยุทธ์ของโรงเรยน
ี่
เอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดสตูล จ าแนกตามตัวแปรระดับการศึกษา (n = 222)
แหล่งความแปรปรวน
สภาพการด าเนินงานวางแผนกลยุทธ์ SS df MS F Sig.
การเตรียมการวางแผน ระหว่างกลุ่ม 3.418 2 1.709 2.305 .102
ภายในกลุ่ม 162.354 219 .741
รวม 165.771 221
การจัดท าแผน ระหว่างกลุ่ม 7.614 2 3.807 8.439 .000
ภายในกลุ่ม 98.793 219 .451
รวม 106.407 221