Page 122 - 025
P. 122
122
2.2 การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือ
ื่
ุ
ั้
เครองมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลครงนี้ เป็นแบบสอบถามสภาพ ปัญหา อปสรรค
ี
ข้อเสนอแนะการด าเนินงานวางแผนกลยุทธ์ของโรงเรยนเอกชนสอนศาสนาอสลามในจังหวัดสตูล
ิ
สังกัดส านักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดสตูล โดยผ่านความเห็นชอบและตรวจสอบแก้ไขจาก
คณะกรรมการที่ปรกษาวิทยานิพนธ์และผู้เชี่ยวชาญ แล้วน าไปทดลองใช้กับประชากรที่ไม่ใช่กลุ่ม
ึ
ตัวอย่าง วิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่น
3. การเก็บรวบรวมข้อมูล
ข้อมูลที่น ามาศึกษา ได้เก็บข้อมูลมาจาก 2 แหล่งข้อมูล คือ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร (Documentary Research) โดยการเก็บ
รวบรวมข้อมูลจากเอกสารทางวิชาการ ต ารา งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และวิทยานิพนธ์
2. การเก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนาม (Field Survey) เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูล
ี
ิ
จากการใช้แบบสอบถามผู้บรหารและคร โรงเรยนเอกชนสอนศาสนาอสลาม ในจังหวัดสตูล ซึ่ง
ิ
ู
เป็นตัวแทนประชากรในการเก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนาม จ านวน 16 โรง โดยจ าแนกตามอาเภอ
รวมจ านวนกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 222 คน ได้แก่ ผู้บริหารจ านวน 21 คน และครู จ านวน 201 คน
4. การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยจะแยกวิเคราะห์ข้อมูลตามลักษณะของแบบสอบถามแต่
ละตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูล
โดยหาค่าร้อยละ แล้วน าเสนอเป็นตารางประกอบความเรียงท้ายตาราง
ี
ิ
ตอนที่ 2 สภาพการด าเนินงานวางแผนกลยุทธ์ของโรงเรยนเอกชนสอนศาสนาอสลามใน
จังหวัดสตูล วิเคราะห์ข้อมูล โดยหาค่าเฉลี่ย ( ) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของ
แบบสอบถาม เป็นรายด้านและหาค่าเฉลี่ยรวม ทั้ง 4 ด้าน โดยให้คะแนนตามเกณฑ์ของครอนบาค
ตอนที่ 3 เป็นแบบสอบถามปลายเปิดเกี่ยวกับปัญหาและข้อเสนอแนะการด าเนินงาน
ิ
ี
วางแผนกลยุทธ์ของโรงเรยนเอกชนสอนศาสนาอสลามในจังหวัดสตูล วิเคราะห์โดยวิธีการ
สังเคราะห์ความคิดเห็นที่มีความหมายคล้ายคลึงกัน เพื่อน ามาประกอบการอภิปรายผล
ี
ตอนที่ 4 แบบแสดงความคิดเห็นการการด าเนินงานวางแผนกลยุทธ์ของโรงเรยนเอกชน
สอนศาสนาอสลามในจังหวัดสตูล วิเคราะห์โดยวิธีการสังเคราะห์ความคิดเห็นที่มีความหมาย
ิ
คล้ายคลึงกัน เพื่อน ามาประกอบการอภิปรายผล