Page 101 - 025
P. 101
101
จากตารางที่ 32 พบว่าการเปรยบเทียบสภาพการด าเนินงานวางแผนกลยุทธ์ของโรงเรยน
ี
ี
เอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดสตูล จ าแนกตามประสบการณ์การท างาน โดยรวมแตกต่างกัน
ี
อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า การเตรยมการวางแผน การ
จัดท าแผน และการน าแผนไปสู่การปฏิบัติ แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญที่ระดับ .05 ในขณะที่การ
ปรับปรุงแผนไม่มีความแตกต่างกัน
ตารางที่ 33 การทดสอบเพื่อเปรียบเทียบสภาพการด าเนินงานวางแผนกลยุทธ์ของโรงเรยน
ี
ิ
เอกชนสอนศาสนาอสลามในจังหวัดสตูล จ าแนกตามตัวแปรประสบการณ์การท างาน เป็นรายคู่
โดยภาพรวม (n = 222)
สภาพการด าเนินงาน น้อยกว่า 5 ปี 5 – 10 ปี 11 – 15 ปี 16 –20 ปี มากกว่า 20 ปี
วางแผนกลยุทธ์
3.56 3.43 3.09 2.96 3.20
น้อยกว่า 5 ปี 3.56 - .163 .025 .060 .775
5 – 10 ปี 3.43 - - .241 .251 .951
11 – 15 ปี 3.09 - - - .998 .988
16 –20 ปี 2.96 - - - - .970
มากกว่า 20 ปี 3.20 - - - - -
จากตารางที่ 33 พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่มีประสบการณ์ในการท างานน้อยกว่า 5 ปี แตกต่าง
จากกลุ่มตัวอย่างที่มีประสบการณ์ในการท างานระหว่าง 11 – 15 ปี โดยกลุ่มตัวอย่างที่มี
ประสบการณ์ในการท างานน้อยกว่า 5 ปี มีสภาพการด าเนินงานวางแผนกลยุทธ์ของโรงเรยนเอกชน
ี
ิ
สอนศาสนาอสลามในจังหวัดสตูลสูงกว่ากลุ่มตัวอย่างที่มีประสบการณ์ในการท างานระหว่าง
11 – 15 ปี
ส าหรบส่วนที่พบว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิตินั้น ได้ท าการทดสอบความ
ั
แตกต่างเป็นรายคู่ โดยใช้วิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffe) ดังตารางที่ 34 - 36