Page 84 - 001
P. 84

73


                   ความเชื่อว่าการที่มันถูกพบไกลไปจนถึงศรีลังกาและบังคลาเทศเพราะพระภิกษุรวมไปถึงกลุ่ม

                   ข้าราชการชั้นสูงผู้ใช้มันในชีวิตประจำวันเป็นผู้พาไปในขณะที่เดินทางไปเผยแผ่พระธรรมใน
                             5
                   ศาสนาพุทธ


























                                      ภาพที่ 27 ภาชนะดินเผาสีดำขัดมัน
                   ที่มา : https://upload.wikimedia.org/[Online] accessed 27 October 2018.

                   ประวัติศาสตร์อินเดียก่อนราชวงศ์โมริยะ

                                              ุ
                                                       ุ
                          ในช่วง 300 ปี ก่อนพทธกาล-พทธศตวรรษที่ 2 (นักโบราณคดีเรียกยุคนี้ว่า ยุคเหล็ก
                                                          ุ
                   ตอนต้น) นักประวัติศาสตร์เรียกยุคนี้ว่ายุคพทธกาลหรือยุคก่อนราชวงศ์โมริยะ ในวรรณกรรม
                                 ุ
                   ทางศาสนาทั้งพทธและเชนได้กล่าวว่า ทางภาคเหนือของอินเดียในช่วงเวลานั้นแบ่งออกเป็น
                   แคว้นน้อยใหญ่ประมาณ 16 แคว้น หรือเรียกกันว่า 16 มหาชนบท (Mahajanapadas) ซึ่งต่าง
                   ปกครองตนเองไม่ขึ้นต่อกัน  บางแคว้นปกครองแบบที่มีกษัตริย์ปกครอง (ราชาธิปไตย)  บาง

                   แคว้นปกครองแบบสาธารณรัฐ  ในบรรดามหาชนบททั้ง 16 แห่งนี้ แคว้นที่มีอำนาจมากที่สุด
                   ได้แก่ มคธ (Magadha) โกศล (Kosala) วัตสะ (Vatsa) และอวันตี (Avanti) ภาวะทางการเมือง

                   ระหว่างนี้มีการแย่งชิงกันเป็นใหญ่ทางการเมืองระหว่างราชาธิปไตยกับสาธารณรัฐและมักยุติลง
                   ด้วยความสัมพันธ์ทางการแต่งงาน
                                                 6
                          ในการปกครองตามระบอบราชาธิปไตยนั้น กษัตริย์ได้รับยกย่องว่าสูงส่งเทียบเท่าเทพ

                   เจ้า หน้าที่ของกษัตริย์คือปกป้องประชาชนจากภัยทั้งปวง กษัตริย์จะต้องเป็นผู้ที่ได้รับการศึกษา
                   อย่างดี และฝึกจิตให้เข้มแข็ง ต้องดูแลความเรียบร้อยของบ้านเมือง วางนโยบายการปกครอง

                   ควบคุมรายได้รายจ่ายของรัฐ ป้องกันภัยอื่น ๆ ที่อาจเกิดขึ้นแก่ประชาชนเพอให้การปกครอง
                                                                                       ื่
                   ดำเนินไปอย่างเรียบร้อย กษัตริย์จะต้องมีผู้ช่วยซึ่งเรียกว่ามนตรีและยังต้องมีคณะกรรมการช่วย
                   อีกเรียกว่า มนตรีปริษัท (mantra-parishad) หรือ อำมาตย์ (amatya) ที่จะมีจำนวนมากน้อย


                          5  V. N. Misra. Prehistoric human colonization of India, p. 522.
                          6  Upinder Singh. A History of Ancient and Early Medieval India from the Stone Age to the 12  Century,
                                                                                             th
                   p. 261.
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89