Page 258 - 001
P. 258

247


                                                              ุ
                          เนื่องจากในสมัยนี้จะเริ่มการสร้างพระพทธรูปขึ้นเป็นต้นไป ดังนั้น ก่อนที่จะกล่าวถึง
                   ลักษณะสำคัญของสกุลช่างต่างๆ จะขอกล่าวถึงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอิริยาบถและมุทรา
                                                 9
                   เสียก่อน เพื่อความเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น
                          1. อิริยาบถ สามารถแบ่งเป็น อิริยาบถยืน ประทับนั่ง และไสยาสน์ (นอน)

                                 • อิริยาบถยืน แบ่งเป็นสองลักษณะ ได้แก่ 1) สมภังค์ คือ การยืนตรง ขารับ
                                                                                    ั
                   น้ำหนักทั้งสองข้าง ไม่มีข้างใดหย่อนพัก และ 2) ตริภังค์ คือ การยืนโดยพกขาข้างหนึ่ง และทิ้ง
                   น้ำหนักลงอีกข้างหนึ่ง ทั้งนี้ คำว่า ตริภังค์ แปลว่า “หักสามส่วน” คือ ลำตัว ขาท่อนบน (ของขา
                   ที่พัก) และขาท่อนล่าง (ของขาที่พัก)
                                 • อิริยาบถประทับนั่ง (อาสนะ) มีอยู่สามท่า ได้แก่ 1) วัชราสนะ (ขัดสมาธิ

                   เพชร) คือ การนั่งโดยใช้พระบาทขวาทับพระเพลา (ขาท่อนบน) ซ้าย แล้วไขว้ข้อพระบาทซ้าย
                   ยกขึ้นมาทับบนพระเพลาขวา จึงเห็นฝ่าพระบาททั้งสองข้างวางอยู่บนพระเพลา วัชราสนะนิยม

                   ในศิลปะอินเดียเหนือเท่านั้น 2) วีราสนะ (ขัดสมาธิราบ) คือการนั่งโดยใช้พระบาทขวาทับ


























                                  ภาพที่ 99 ลักษณะการยืน (ซ้าย) สมภังค์ และ (ขวา) ตริภังค์

                   ที่มา : https://www.wikimedia.org /[Online], accessed 29 October 2018.



















                          9  ดูเพิ่มเติมที่ เชษฐ์ ติงสัญชลี. (2554). พระพุทธรูปอินเดย. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ.
                                                             ี
   253   254   255   256   257   258   259   260   261   262   263