Page 58 - 2566
P. 58

หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้



               ตารางที่ 4.1-03 วิธีการคาดการณ์ผลการด าเนินการในอนาคต

                  ผลการ                 การเทียบคาดการณ์ผลการ
                 ด าเนินการ   วิธีการ        ด าเนินการ    วิธีการปรับค่าความแตกต่างให้ยอมรับได้   ผลการทบทวนผลการด าเนินการ

               ตามแผนระยะ     วิเคราะห์  ต่ำกว่าการคาดหมาย   วิเคราะห์หาสาเหตุและกำหนดแผนใน  แผนปฏิบัติการที่สอดคล้องกับ
               สั้น:         แนวโน้ม/                      การพัฒนา                  เป้าหมาย KPIs ใหม่
               แผนการ         กำหนด    สูงกว่าการคาดหมาย   แลกเปลี่ยนเรียนรู้        แนวปฏิบัติที่ดี
               ปฏิบัติการ    เป้าหมาย
                                       เป็นไปตามคาดหมาย    กำหนดเป้าหมายให้ท้าทาย    เป้าหมาย KPIs ที่ท้าทาย

               ตามแผนระยะ     วิเคราะห์  ต่ำกว่าการคาดหมาย   ทบทวนวัตถุประสงค์เชิง   แผนปฏิบัติการที่สอดคล้องกับ
               ยาว:          แนวโน้ม/                      กลยุทธ์พัฒนางาน           เป้าหมาย KPIs ใหม่
               แผนการ         กำหนด    สูงกว่าการคาดหมาย   พัฒนานวัตกรรม             เป้าหมาย KPIs ด้านนวัตกรรม
               ปฏิบัติการ    เป้าหมาย
                                       เป็นไปตามคาดหมาย    กำหนดเป้าหมายให้ท้าทาย    เป้าหมาย KPIs ระดับสูงขึ้น

               ผลการ         เปรียบเทียบ  ต่ำกว่าการคาดหมาย   แลกเปลี่ยนเรียนรู้     เป้าหมาย KPIs ที่ท้าทาย
               ดำเนินการเทียบ  โดยใช้  สูงกว่าการคาดหมาย   จัดทำแนวปฏิบัติที่ดี      แนวปฏิบัติที่ดี
               คู่เทียบ      อัตราส่วน
                                       เป็นไปตามคาดหมาย    กำหนดความเป็นเลิศให้สูงขึ้นและ  เป้าหมาย KPIs ระดับสูงขึ้น
                                                           กำหนดแผนในการพัฒนา
               4.1ค(2) การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและนวัตกรรม คณะกรรมการ MT และคณะกรรมการ QT นำผลการทบทวนผล

               การดำเนินการตามวิธีการ (ภาพที่ 4.1–03) มาคาดการณ์ผลการดำเนินการในอนาคต จัดลำดับความสำคัญของ
               ตัวชี้วัดที่ต้องนำไปปรับปรุงอย่างเร่งด่วน ต่อเนื่องและสร้างสรรค์เป็นนวัตกรรมใหม่ขององค์กร (6.1ง) โดยใช้เกณฑ์

               การจัดลำดับความสำคัญของปัญหาที่มีผลกระทบต่อผู้ใช้บริการจำนวนมากและกระบวนการดำเนินงานหลักของ

               องค์กร จากนั้นนำผลการประเมินตามตัวชี้วัดมากำหนดเป้าหมายการพัฒนางานและพัฒนานวัตกรรม (6.1ข(3)
               และ 6.1ง) โดยใช้ PDCA-Par การสร้างนวัตกรรมปี พ.ศ. 2563-2566 คณะกรรมการ INT ได้นำผลการทบทวน

               การดำเนินงานมากำหนดแนวทางให้บุคลากรพัฒนานวัตกรรมที่แก้ปัญหาและเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการเป็น

               สำคัญ มีการถ่ายทอดตัวชี้วัดที่ปรับปรุงแก้ไขไปสู่ระดับฝ่าย ระดับปฏิบัติการ ผ่านแผนปฏิบัติการประจำปี
               (6.1ข(1)) ด้วยช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ (ตารางที่ 5.2-01) บุคลากรสามารถนำเสนอ Idea Suggestions ได้

               ตลอดเวลา มีการถ่ายทอดและประสานความร่วมมือกับผู้ส่งมอบผ่านแผนการจัดซื้อจัดจ้าง สู่พันธมิตรและผู้ให้
               ความร่วมมือโดยมีการจัดประชุมประจำปีเพื่อสร้างข้อตกลงและแนวปฏิบัติร่วมกัน เช่น การประชุมข่ายงาน

               ห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค (PSULINET) ที่จัดประจำปีทุกปี อีกทั้งดำเนินการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตัวชี้วัดที่

               ปรับปรุงกับคู่เทียบ การประชุมผู้บริหารพบปะผู้จำหน่ายสินค้าและบริการ จากการดำเนินงานดังกล่าวผลการ
               ปรับปรุงงานที่สำคัญนำไปสู่การตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการเป็นสูงสุด โดย ด้านการบริการมีผล

               ประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ (ปี 2564 = 92.60, ปี 2565 = 93.00, ปี 2566 = 92.57) (ภาพที่ 7.2-01)





                                                             52
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63