Page 57 - 2566
P. 57
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
ตัวชี้วัดทั้งหมด จากนั้นเลือกตัวชี้วัดที่สำคัญที่สะท้อนภารกิจหลักขององค์กร และปรับลดตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน
ที่บรรลุเป้าหมายอย่างต่อเนื่อง
ตารางที่ 4.1-02 วิธีการวิเคราะห์ทบทวนผลการด าเนินงาน
ด้าน ผู้รับผิดชอบ ความถี่ วิธีวิเคราะห ์
พันธกิจ: บริการ คณะกรรมการ BT 2 เดือน/ครั้ง Gap Analysis, Trend Analysis and
สารสนเทศและสื่อ คณะกรรมการ MT 1 เดือน/ครั้ง Predicting/Forecasting Analysis, CSR
การเรียนรู้ Analysis
หัวหน้าฝ่าย 1 เดือน/ครั้ง
การปฏิบัติการ คณะกรรมการ BT 2 เดือน/ครั้ง Root Cause Analysis, Gap Analysis
คณะกรรมการ MT 1 เดือน/ครั้ง Root Cause Analysis, Gap Analysis
ทีมบริหาร/หัวหน้าฝ่าย/หัวหน้ากลุ่มงาน 1 เดือน/ครั้ง Root Cause Analysis, Gap Analysis
ความรับผิดชอบต่อ คณะกรรมการ BT 6 เดือน/ครั้ง Root Cause Analysis, Gap Analysis
สังคม
คณะกรรมการ CSRT 3 เดือน/ครั้ง
ทรัพยากรมนุษย์ คณะกรรมการ BT 6 เดือน/ครั้ง Root Cause Analysis, Gap Analysis,
Correlation Analysis
คณะกรรมการ MT 3 เดือน/ครั้ง
คณะกรรมการ HRT 1 เดือน/ครั้ง
ระบบบริหารจัดการ คณะกรรมการ BT 2 เดือน/ครั้ง Root Cause Analysis, Self-assessment, Gap
องค์กร Analysis, Benchmarking
คณะกรรมการ MT 1 เดือน/ครั้ง
คณะกรรมการ IAT 3 เดือน/ครั้ง
คณะกรรมการ TQA 2 เดือน/ครั้ง
4.1ค การปรับปรุงผลการด าเนินการ
4.1ค(1) ผลการด าเนินการในอนาคต สำนักฯ โดยคณะกรรมการ QT กำหนดค่าคาดการณ์ความสำเร็จของแผนโดย
พิจารณาจากเป้าหมายของแผน (ตารางที่ 2.1-01) (2.2ข(1)) ผลการดำเนินการที่ผ่านมา ผลการประเมิน TQA ใน
ปีที่ผ่านมา แล้ววิเคราะห์ Gap เปรียบเทียบกับผลการดำเนินการของคู่เทียบในประเด็นที่สำคัญ และพิจารณา
ปัจจัยคุกคามภายนอก เช่น สถานการณ์ฉุกเฉินหรือสถานการณ์โรคระบาด การเปลี่ยนแปลงวิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์
และนโยบายของมหาวิทยาลัย Digital Technology Disruption และสถานการณ์ทางด้านการเงินและ
งบประมาณ มาวิเคราะห์และกำหนดค่าคาดการณ์ผลการดำเนินการ (2.2ก(6)) ในทุกระดับตั้งแต่ทบทวนวิสัยทัศน์
แผนยุทธศาสตร์และแผนการดำเนินงาน
51